โรคกระดูกสันหลังเสื่อมและโรคกระดูกพรุน ปัญหากระดูกและข้อที่มีสาเหตุ และการรักษา แตกต่างกัน โดย โรคกระดูกพรุน เกิดจากการที่ตัวเนื้อกระดูกบางลง มีรูพรุนเพิ่มขึ้น กลุ่มนี้จะส่งผลให้กระดูกเปราะ แตกหักง่าย ส่วนโรคกระดูกเสื่อมหรือข้อเสื่อม ส่วนใหญ่เกิดบริเวณข้อต่อที่ต้องเคลื่อนไหวและรับน้ำหนัก เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ทำให้เกิดการสึกของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทำให้เกิดอาการอักเสบ บวม แดง ซึ่งจะรักษาตามระดับความรุนแรงของโรค ติดตามความรู้จาก ผศ. พ.ต.ต. นพ.ธงชัย สุนทราภา สมาคมออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย
กดจุดคลายปวดด้วยอุปกรณ์ง่าย ๆ ที่หาได้ในบ้านและยังคงอัตลักษณ์ความเป็นไทยด้วยลูกบอลผ้าขาวม้า ที่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง มาเรียนรู้ไปพร้อมกันกับอาจารย์พีระ ภัทรเวชมณี แพทย์แผนไทย
ทำความรู้จักกับความเครียดในตัวเองที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ซึ่งเป็นสิ่งที่ร่างกายตอบสนองกับความเปลี่ยนแปลง หรือความท้าทายในชีวิต รวมไปถึงสิ่งที่ควรปฏิบัติเมื่อเกิดความเครียด กับอาจารย์ทัศยา เรืองศรี นักจิตบำบัด
ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม 2567 เวลา 07.30 – 08.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
คนสู้โรค
ปัสสาวะบ่อยกลางคืน ปัญหารบกวนการนอนในผู้สูงวัย
นวัตกรรมสุคนธบำบัด ช่วยลดความเจ็บปวดระหว่างการผ่าตัดสลายต้อ
วิตามินผิดกฎหมาย
7 อาหารต้านโรคภัยเสริมภูมิคุ้มกัน
เอ็นข้อเข่าฉีก หมอนรองเข่าแตก
ดูแลจิตใจใครก็ทำได้
โดนแดดวันละ 30 นาที ได้รับวิตามินดีเพียงพอหรือไม่
ผู้สูงวัยเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านอย่างไร ให้ดีต่อสุขภาพ
ควบคุมอาหารอย่างไร ไม่ให้ร่างกายเสียสมดุล
ออกกำลังกายคลายเจ็บปวด
โรคกระดูกสันหลังเสื่อมต่างกันกับโรคกระดูกพรุนอย่างไร
ไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
เตรียมตัวอย่างไรเมื่อจะไปวิ่ง จบแบบไม่เจ็บ
ทำหลายงาน จัดการอย่างไร
สมุนไพรในบ้านช่วยลดน้ำตาลในเลือด
สาเหตุและอาการโรคสมาธิสั้นในผู้ใหญ่
การดูแลสุขภาพ และป้องกันโรคในโครงการกลุ่มเปราะบาง
หัวใจโตในผู้สูงวัยเกิดจากอะไร
อุปกรณ์ช่วยพยุงลดบาดเจ็บ
เฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ลดปัญหาผู้ป่วยติดเตียง
ปรับก่อนป่วย : ฝึกจิตใจให้แข็งแกร่งด้วยการแช่น้ำแข็ง (Ice Bath)
รู้จักโรคฝีดาษวานร
บำรุงตับอย่างไร ไม่ให้ตับพัง
ข้อไหล่ติด ไม่รักษาหายได้ไหม
หลงลืมตามวัย อาจไม่ได้มาจากอัลไซเมอร์
ทำความรู้จัก "โรคข้อไหล่ติด"
สูงวัยสุขภาพดี ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ส่วนสูงที่หายไปในผู้สูงวัย มีสาเหตุจากอะไร
ท่ากายภาพ สำหรับคลายอาการเจ็บปวด
การรักษาภาวะกระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน ทำได้อย่างไร
คนสู้โรค
ปัสสาวะบ่อยกลางคืน ปัญหารบกวนการนอนในผู้สูงวัย
นวัตกรรมสุคนธบำบัด ช่วยลดความเจ็บปวดระหว่างการผ่าตัดสลายต้อ
วิตามินผิดกฎหมาย
7 อาหารต้านโรคภัยเสริมภูมิคุ้มกัน
เอ็นข้อเข่าฉีก หมอนรองเข่าแตก
ดูแลจิตใจใครก็ทำได้
โดนแดดวันละ 30 นาที ได้รับวิตามินดีเพียงพอหรือไม่
ผู้สูงวัยเลือกรับประทานอาหารนอกบ้านอย่างไร ให้ดีต่อสุขภาพ
ควบคุมอาหารอย่างไร ไม่ให้ร่างกายเสียสมดุล
ออกกำลังกายคลายเจ็บปวด
โรคกระดูกสันหลังเสื่อมต่างกันกับโรคกระดูกพรุนอย่างไร
ไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
เตรียมตัวอย่างไรเมื่อจะไปวิ่ง จบแบบไม่เจ็บ
ทำหลายงาน จัดการอย่างไร
สมุนไพรในบ้านช่วยลดน้ำตาลในเลือด
สาเหตุและอาการโรคสมาธิสั้นในผู้ใหญ่
การดูแลสุขภาพ และป้องกันโรคในโครงการกลุ่มเปราะบาง
หัวใจโตในผู้สูงวัยเกิดจากอะไร
อุปกรณ์ช่วยพยุงลดบาดเจ็บ
เฝ้าระวังการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ลดปัญหาผู้ป่วยติดเตียง
ปรับก่อนป่วย : ฝึกจิตใจให้แข็งแกร่งด้วยการแช่น้ำแข็ง (Ice Bath)
รู้จักโรคฝีดาษวานร
บำรุงตับอย่างไร ไม่ให้ตับพัง
ข้อไหล่ติด ไม่รักษาหายได้ไหม
หลงลืมตามวัย อาจไม่ได้มาจากอัลไซเมอร์
ทำความรู้จัก "โรคข้อไหล่ติด"
สูงวัยสุขภาพดี ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ส่วนสูงที่หายไปในผู้สูงวัย มีสาเหตุจากอะไร
ท่ากายภาพ สำหรับคลายอาการเจ็บปวด
การรักษาภาวะกระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน ทำได้อย่างไร