“ปูอ่อง สเฟียร์” “ไข่ปลาคาเวียร์ผักเชียงดา” นี่คือการเปลี่ยนโฉมอาหารล้านนาให้น่าลิ้มลองมากยิ่งขึ้นด้วยการใช้เทคนิคทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่า “Molecular Gastronomy” เมนูอาหารที่สร้างสรรค์เหล่านี้ ถูกนำเสนอผ่านรายการ Cook Culture ซึ่งแต่ละตอนที่ออกอากาศ ก็ได้รับความสนใจจากคุณผู้ชมมากเลยทีเดียว ที่มาของรายการนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง ไทยพีบีเอสและศูนย์นวัตกรรมอาหารและบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่อยากสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้ประกอบการร้านอาหาร ได้นำศาสตร์ “Gastronomy” มาเป็นแม่เหล็กดึงดูดนักท่องเที่ยว และกระตุ้นเศรษฐกิจหลังวิกฤตการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ซึ่งภายในระยะเวลาปีครึ่งพบว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารล้านนาแบบใหม่ หรือ “Gastronomy Tourism” สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ผู้ประกอบการร้านค้า และผู้ประกอบการธุรกิจบริการในจังหวัดเชียงใหม่ ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นราว 200 ล้านบาท และเพิ่มปริมาณนักท่องเที่ยวในท้องถิ่นได้มากกว่า 3,000 คน เปิดบ้านไทยพีบีเอสชวนคุณผู้ชมไปรับฟังว่าหลังเชฟและเกษตรกรได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในรายการ Cook Culture แล้ว เขามองเห็นโอกาสและการต่อยอดวัตถุดิบท้องถิ่น เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่ต้นน้ำ - กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำอย่างไรบ้าง
ติดตามรายละเอียดได้ในรายการ "วันใหม่วาไรตี้" วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม 2565 ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เปิดบ้าน Thai PBS
แรงบันดาลใจจาก Cook Culture
เสียงจากหมู่บ้านกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่
ความคิดเห็นต่อการนำเสนอเรื่องฝุ่น PM 2.5
Box Set รู้ใจวัยจิ๋ว สื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย หลังวิกฤตโควิด-19
ความคิดเห็นผู้ชมต่อคอลัมน์ทั่วถิ่นการเมืองในรายการมุมการเมือง
ความคิดเห็นต่อสารคดี Tham luang rescue power of unity รวมพลังกู้ภัยถ้ำหลวง
ความเห็นต่อรายการพื้นที่ชีวิต
เบื้องหลังข่าววันยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล
ดอกผลนักข่าวพลเมือง จ.อุดรธานี
บันทึกคุณค่าวงการดนตรี นักผจญเพลง REPLAY
เบื้องหลังการติดตามจ่ายเงินประกันภัยโควิด-19
179 ปี สืบทอดประเพณีแข่งเรือยาว ขึ้นโขนชิงธง จ.ชุมพร
ปัญหากัดเซาะชายฝั่ง ข้อเสนอจากสภาผู้ชมฯ ภาคใต้
เกมท้าภาษาไทย ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว
แลต๊ะแลใต้ ช่วยพลิกฟื้นโกโก้ระนอง
ความคิดเห็นต่อละคร ณ ขณะเหงา
ความเห็นต่อเว็บไซต์โฉมใหม่ไทยพีบีเอส
เบื้องหลังการตรวจสอบอัฒจันทร์สร้างไม่แล้วเสร็จ
เบื้องหลังการรายงานข่าวน้ำท่วม ปี 65
แรงบันดาลใจจากรายการ “My Teacher คุณครูของฉัน”
รายการสะเทือนไทย ต่อลมหายใจเด็กพิเศษ
สื่อสารวิถีชาติพันธุ์ชาวเล
ข่าวไทยพีบีเอส สื่อการสอนวิชาต้านทุจริตศึกษา
สะเทือนไทย สร้างความเข้าใจชาติพันธุ์มานิ
ไทยพีบีเอสทดลองออกอากาศ 4K
ตอบสงสัยเรื่องฟอสซิลวาฬอำแพงและพบสถานีวิทยุเครือข่ายภาคเหนือ
เบื้องหลังการตีแผ่กลุ่มทุนจีนสีเทา
เบื้องหลังการนำเสนอปัญหา "เด็กหลุดจากระบบการศึกษา"
เบื้องหลังเสียงบรรยายภาพ (Audio Description)
เบื้องหลัง Subtitle ละครไทยพีบีเอส
ข้อเสนอจากสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการ ปี 2565
เปิดบ้าน Thai PBS
แรงบันดาลใจจาก Cook Culture
เสียงจากหมู่บ้านกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่
ความคิดเห็นต่อการนำเสนอเรื่องฝุ่น PM 2.5
Box Set รู้ใจวัยจิ๋ว สื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย หลังวิกฤตโควิด-19
ความคิดเห็นผู้ชมต่อคอลัมน์ทั่วถิ่นการเมืองในรายการมุมการเมือง
ความคิดเห็นต่อสารคดี Tham luang rescue power of unity รวมพลังกู้ภัยถ้ำหลวง
ความเห็นต่อรายการพื้นที่ชีวิต
เบื้องหลังข่าววันยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล
ดอกผลนักข่าวพลเมือง จ.อุดรธานี
บันทึกคุณค่าวงการดนตรี นักผจญเพลง REPLAY
เบื้องหลังการติดตามจ่ายเงินประกันภัยโควิด-19
179 ปี สืบทอดประเพณีแข่งเรือยาว ขึ้นโขนชิงธง จ.ชุมพร
ปัญหากัดเซาะชายฝั่ง ข้อเสนอจากสภาผู้ชมฯ ภาคใต้
เกมท้าภาษาไทย ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว
แลต๊ะแลใต้ ช่วยพลิกฟื้นโกโก้ระนอง
ความคิดเห็นต่อละคร ณ ขณะเหงา
ความเห็นต่อเว็บไซต์โฉมใหม่ไทยพีบีเอส
เบื้องหลังการตรวจสอบอัฒจันทร์สร้างไม่แล้วเสร็จ
เบื้องหลังการรายงานข่าวน้ำท่วม ปี 65
แรงบันดาลใจจากรายการ “My Teacher คุณครูของฉัน”
รายการสะเทือนไทย ต่อลมหายใจเด็กพิเศษ
สื่อสารวิถีชาติพันธุ์ชาวเล
ข่าวไทยพีบีเอส สื่อการสอนวิชาต้านทุจริตศึกษา
สะเทือนไทย สร้างความเข้าใจชาติพันธุ์มานิ
ไทยพีบีเอสทดลองออกอากาศ 4K
ตอบสงสัยเรื่องฟอสซิลวาฬอำแพงและพบสถานีวิทยุเครือข่ายภาคเหนือ
เบื้องหลังการตีแผ่กลุ่มทุนจีนสีเทา
เบื้องหลังการนำเสนอปัญหา "เด็กหลุดจากระบบการศึกษา"
เบื้องหลังเสียงบรรยายภาพ (Audio Description)
เบื้องหลัง Subtitle ละครไทยพีบีเอส
ข้อเสนอจากสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการ ปี 2565