เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายนที่ผ่านมา รายการเปิดปมได้นำเสนอเรื่องราวของชาวมานิและชาวจาไฮ ว่าทั้งสองชาติพันธุ์นี้มักถูกคนในสังคมไทยเรียกรวม ๆ กันว่า "เงาะป่าซาไก" ทั้ง ๆ ที่ชาวมานิและชาวจาไฮใช้ภาษาและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน นอกจากนี้คำว่า "ซาไก" ยังมีความหมายแปลว่า "ทาส" ซึ่งส่งผลต่อความรู้สึกของคนทั้งสองกลุ่มชาติพันธุ์ เพราะเป็นคำที่ลดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หลังจากรายการออกอากาศไป ก็มีคุณผู้ชมหลายคนให้ความสนใจ ส่วนใหญ่ส่งความคิดเห็นเข้ามาบอกว่า มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ จากความคิดเห็นสะท้อนได้ว่า เมื่อคุณผู้ชมได้ทำความรู้จักกับชาวมานิและชาวจาไฮมากขึ้น ก็ทำให้ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการเรียกชื่อชาติพันธุ์ที่มีความหมายเชิงตีตราหรือลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ อาจารย์บัณฑิต ไกรวิจิตร เป็นนักมานุษยวิทยาคนหนึ่ง ที่ศึกษาวิจัยเรื่องชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในประเทศไทย และพยายามสื่อสารให้คนในสังคมเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ให้ถูกต้อง จึงอยากชวนคุณผู้ชมไปรับฟังมุมมองของอาจารย์ว่า "สื่อ" มีส่วนช่วยทำให้คนในสังคมเข้าใจความแตกต่างหลากหลายอย่างไรบ้าง
ติดตามชมรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
เปิดบ้าน Thai PBS
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันสื่อ : รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันสื่อ : กลลวงพนันออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
รู้เท่าทันสื่อ : การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
รู้เท่าทันสื่อ : วงจรข้อมูลลวง COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
รู้เท่าทันสื่อ : โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้เท่าทันสื่อ : รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันสื่อ : ภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันสื่อ : การออกแบบ News Feed
รู้เท่าทันสื่อ : โฆษณาแฝงในรายการข่าว
รู้เท่าทันสื่อ : ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
รู้เท่าทันสื่อ : การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เล่นโซเชียลนาน เสี่ยงภาวะเหนื่อยล้าการตัดสินใจ
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
เสียงจากคนไทยพลัดถิ่น
เปิดบ้าน Thai PBS
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันสื่อ : รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันสื่อ : กลลวงพนันออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
รู้เท่าทันสื่อ : การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
รู้เท่าทันสื่อ : วงจรข้อมูลลวง COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
รู้เท่าทันสื่อ : โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้เท่าทันสื่อ : รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันสื่อ : ภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันสื่อ : การออกแบบ News Feed
รู้เท่าทันสื่อ : โฆษณาแฝงในรายการข่าว
รู้เท่าทันสื่อ : ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
รู้เท่าทันสื่อ : การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เล่นโซเชียลนาน เสี่ยงภาวะเหนื่อยล้าการตัดสินใจ
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
เสียงจากคนไทยพลัดถิ่น