หลายปีที่ผ่านมา...ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชุมชนที่เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยว คือความเสื่อมโทรมของสภาพพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นความสกปรกจากขยะ นักท่องเที่ยวทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ของมีค่าหรือสถานที่สำคัญของชุมชน ไม่ให้เกียรติชาวบ้าน ไม่เคารพประเพณีของคนในท้องถิ่น หรือแม้แต่คนในชุมชนเองยอมทำทุกอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่งเม็ดเงินจากนักท่องเที่ยว
แต่กว่า 13 ปี ที่ชาวบ้านผาหมอน ชุมชนปกาเกอะญอ บนดอยอินทนนท์ จัดให้พื้นที่ของตนมีการท่องเที่ยววิถีชุมชน กลับไม่มีปัญหาเหล่านั้นแม้แต่น้อย พวกเขายังคงรักษาวิถี ประเพณี ความเชื่อ และแนวทางการปฏิบัติตัวที่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่าไว้ได้เป็นอย่างดี นั่นเพราะทุกคนในชุมชนต่างตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นร่วมกัน และลุกขึ้นมาจัดการท่องเที่ยวด้วยตัวพวกเขาเอง ผ่านกระบวนการวิจัย และใช้การบริหารจัดการในรูปแบบคล้ายบริษัทที่ให้ชาวบ้านทุกคนเป็นหุ้นส่วน มี CEO ทำหน้าที่บริหารและประสานงาน มีคณะกรรมการบริษัท (Board of directors) คอยให้คำแนะนำและชี้แนะแนวทาง มีการตั้งกฏกติกาในการปฏิบัติตัวของนักท่องเที่ยวอย่างเคร่งครัด นักท่องเที่ยวที่เข้ามายังบ้านผาหมอนจึงเป็นกลุ่มคนที่ตั้งใจมาสัมผัสวิถีความเป็นปกาเกอะญอจริง ๆ ชาวผาหมอนจึงเป็นตัวของตัวเองได้อย่างไม่เคอะเขิน นักท่องเที่ยวเปรียบเสมือนมิตรสหายที่มาเยี่ยมเยียน และที่สำคัญคือรายได้ที่มาจากการท่องเที่ยวจะถูกหักเข้าส่วนกลางเพื่อนำมาทำประโยชน์แก่ชุมชน เช่น ทำแนวป้องกันไฟป่า จ้างคนลาดตระเวนเพื่อเฝ้าระวังไฟป่า เป็นทุนการศึกษาให้กับบุตรหลาน สงเคราะห์ผู้ยากไร้ในชุมชน ซ่อมแซมถนนหนทาง และอีกหลายกิจกรรมที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต
ติดตามเรื่องราวของชุมชนเข้มแข็งชุมชนนี้ได้ในรายการสะเทือนไทย วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน 2561 เวลา 18.30 - 19.00 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
สะเทือนไทย
เชื่อหรือไม่! มนุษย์คนนี้สนุกกับการหาวิธีลดการสร้างขยะ
เชื่อหรือไม่! มีมนุษย์ที่ขยันถือปิ่นโต หิ้วตะกร้าแทนการใส่ถุงพลาสติก
เชื่อหรือไม่! มนุษย์คนนี้ชอบสร้างทางเลือกใหม่ ๆ อาจจะขำแต่ทำจริง
เรื่องกินเรื่องใหญ่
สุดยอดการรังสรรค์!! อาหารกลางวัน 20 บาท
อาหารกลางวันที่พิถีพิถันที่สุด
จ่ายตลาดอย่างไร...ให้ได้อาหารกลางวัน 20 บาท
อาหารกลางวัน 20บาท ก็กินหรูได้
ปลูกฝังเด็กอย่างไร...ให้รู้จัก "หน้าที่" ของตัวเอง
ลีลานักขายของนักกีฬารุ่นจิ๋ว
วอลเลย์บอลเปลี่ยนชีวิต
ปั้นดินให้เป็นบุญ
"ปั้นดินให้เป็นบุญ" ตั้งต้นชีวิตใหม่ให้นักโทษ
"ปั้นพระพุทธรูป" เยียวยาจิตใจในเรือนจำ
กีฬาที่ฝันที่สุดของคนตาบอด
"ฟุตบอลคนตาบอด" เขาเล่นกันอย่างไร
บ้านเมืองสะอาดได้ ด้วยแนวคิดไร้ถังขยะ
กว่าจะเป็น "เมืองแห่งต้นไม้" และต้นแบบเมืองน่าอยู่
ความท้าทายของนักฟุตบอลตาบอด
"พนัสนิคม" เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
ปลูกต้นไม้ ไม่ใช่แค่เอาลงดิน
แรงบันดาลใจลุงเฉลียว นักสู้ทวงคืนบึงวงฆ้อง
"ปลูกต้นไม้" ให้อยู่เย็น นอนสุข
ถึงยายจะจน แต่รวยต้นไม้
รวมพลคนบ้าปลูกต้นไม้
สร้างพลังงานทดแทน โดยใช้น้ำจากฝาย
พลังงานทดแทนต้องราคาถูก
ทำอย่างไร...ให้โรงพยาบาล "อบอุ่น" เหมือนบ้าน
ระบบสุขภาพที่ “ทุกคน” เป็นเจ้าของ
โมเดลใหม่! "ร้านปลาออร์แกนิก"
สะเทือนไทย
เชื่อหรือไม่! มนุษย์คนนี้สนุกกับการหาวิธีลดการสร้างขยะ
เชื่อหรือไม่! มีมนุษย์ที่ขยันถือปิ่นโต หิ้วตะกร้าแทนการใส่ถุงพลาสติก
เชื่อหรือไม่! มนุษย์คนนี้ชอบสร้างทางเลือกใหม่ ๆ อาจจะขำแต่ทำจริง
เรื่องกินเรื่องใหญ่
สุดยอดการรังสรรค์!! อาหารกลางวัน 20 บาท
อาหารกลางวันที่พิถีพิถันที่สุด
จ่ายตลาดอย่างไร...ให้ได้อาหารกลางวัน 20 บาท
อาหารกลางวัน 20บาท ก็กินหรูได้
ปลูกฝังเด็กอย่างไร...ให้รู้จัก "หน้าที่" ของตัวเอง
ลีลานักขายของนักกีฬารุ่นจิ๋ว
วอลเลย์บอลเปลี่ยนชีวิต
ปั้นดินให้เป็นบุญ
"ปั้นดินให้เป็นบุญ" ตั้งต้นชีวิตใหม่ให้นักโทษ
"ปั้นพระพุทธรูป" เยียวยาจิตใจในเรือนจำ
กีฬาที่ฝันที่สุดของคนตาบอด
"ฟุตบอลคนตาบอด" เขาเล่นกันอย่างไร
บ้านเมืองสะอาดได้ ด้วยแนวคิดไร้ถังขยะ
กว่าจะเป็น "เมืองแห่งต้นไม้" และต้นแบบเมืองน่าอยู่
ความท้าทายของนักฟุตบอลตาบอด
"พนัสนิคม" เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
ปลูกต้นไม้ ไม่ใช่แค่เอาลงดิน
แรงบันดาลใจลุงเฉลียว นักสู้ทวงคืนบึงวงฆ้อง
"ปลูกต้นไม้" ให้อยู่เย็น นอนสุข
ถึงยายจะจน แต่รวยต้นไม้
รวมพลคนบ้าปลูกต้นไม้
สร้างพลังงานทดแทน โดยใช้น้ำจากฝาย
พลังงานทดแทนต้องราคาถูก
ทำอย่างไร...ให้โรงพยาบาล "อบอุ่น" เหมือนบ้าน
ระบบสุขภาพที่ “ทุกคน” เป็นเจ้าของ
โมเดลใหม่! "ร้านปลาออร์แกนิก"