ไม้ตะพด ถือว่าเป็นเครื่องป้องกันตัวชนิดหนึ่งของชายไทยในสมัยโบราณ นิยมอย่างมากในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งในปัจจุบันยังมีชุมชนที่ยังคงอนุรักษ์การทำไม้ตะพด ชุมชนท้ายพิกุล อำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ดั้งเดิมผลิตไม้ตะพดจากไม้ไผ่เปร็งเพื่อนำไปใช้ในการเคาะระฆัง ต่อมาได้มีการพัฒนาไม้ตะพดให้มีความสวยงามและหลากหลายรูปแบบมากยิ่งขึ้น นอกจากชุมชนท้ายพิกุลแล้ว ที่ตำบลตาจั่น อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ยังมีช่างรุ่นใหม่ที่เข้าสืบสานการทำไม้ตะพด ช่างสมโชค คนยั้ง ช่างทำไม้ตะพดผู้ที่ชื่นชอบในงานไม้ตะพด และสร้างสรรค์ผลงานไม้ตะพดให้มีความวิจิตรงดงาม ซึ่งไม้ตะพดแต่ละอันจะถูกทำขึ้นมาตามความคิดของช่างเพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน
ติดตามเรื่องราวของอุดมการณ์ ความมุ่งมั่นและตัวตนที่เป็นสุดยอดในศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในรายการไทยศิลป์ วันอาทิตย์ที่ 17 พฤศจิกายน 2567 เวลา 13.00 - 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
ไทยศิลป์
ผ้ายกเมืองร้อยเอ็ด
แกะสลักกระบวย
งานคร่ำทอง
ไทยทรงดำ
ผ้าใยกัญชงเขียนเทียน
คัวตองล้านนา
หัตถกรรมลูกปัดโนรา
ผ้าปะลางิง
ผีตาโขน
แกะสลักพระไม้เมืองน่าน
สะล้อเมืองน่าน
โขน งานหัตถศิลป์ไทย
ลงรักปิดทองลายรดน้ำ
หล่อพระล้านนา
จิตรกรรมฝาผนัง
ศิลาดล
งานแกะสลักไม้
ไม้ตะพด
ศิลปะการแกะสลักผักผลไม้
ตะโพนไทย
สลักดุนโลหะ
ปูนปั้นล้านนา
ซึง เครื่องดนตรีล้านนา
แกะสลักหัวเรือเมืองน่าน
ไทยศิลป์
ผ้ายกเมืองร้อยเอ็ด
แกะสลักกระบวย
งานคร่ำทอง
ไทยทรงดำ
ผ้าใยกัญชงเขียนเทียน
คัวตองล้านนา
หัตถกรรมลูกปัดโนรา
ผ้าปะลางิง
ผีตาโขน
แกะสลักพระไม้เมืองน่าน
สะล้อเมืองน่าน
โขน งานหัตถศิลป์ไทย
ลงรักปิดทองลายรดน้ำ
หล่อพระล้านนา
จิตรกรรมฝาผนัง
ศิลาดล
งานแกะสลักไม้
ไม้ตะพด
ศิลปะการแกะสลักผักผลไม้
ตะโพนไทย
สลักดุนโลหะ
ปูนปั้นล้านนา
ซึง เครื่องดนตรีล้านนา
แกะสลักหัวเรือเมืองน่าน