การนำเสนอเนื้อหาในรายการ มีเจตนารมณ์เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงภัยอันตรายที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะในช่วงของสถานการณ์เปิดภาคเรียนการศึกษาที่ผ่านมา โดยการนำเสนอมุ่งเน้นให้ทุกฝ่ายเกิดความตระหนักถึงภัยของสารต้องห้าม “ไนเตรต” ที่มีอันตรายต่อเด็กและเยาวชน จนส่งผลให้มีเด็กต้องเข้าโรงพยาบาลหลายรายเมื่อต้นปีที่ผ่านมา
โดยรายการได้นำเสนอการลงพื้นที่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อตรวจสอบพบว่ามีไส้กรอกที่มีการใส่สารไนเตรตวางขายอยู่ในตลาดและภายในโรงเรียนบางแห่งจำนวนหลายยี่ห้อ หลังผ่านไป 1 เดือนเศษ ทางรายการได้ลงพื้นที่ตรวจสอบอีกครั้ง พบว่าในส่วนของโรงเรียนมีความเข้มงวดกับร้านค้าที่ขายและให้ความรู้กับนักเรียนอีกทางหนึ่ง ส่วนในพื้นที่ตลาดยังคงพบการขายไส้กรอกที่ตรวจพบสารไนเตรตบางรายการ ทั้งนี้ทางรายการหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การนำเสนอเนื้อหาดังกล่าวจะนำไปสู่การเร่งรัดดำเนินการของกลไกภาครัฐ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับเด็กและเยาวชนต่อไป
ติดตามชมรายการ Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 21.45 - 22.15 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS
"โอมิครอน" ดับฝันเปิดประเทศ ?
สถานการณ์ปลาน้ำจืดเสี่ยงสูญพันธุ์
ชุมชนกะเหรี่ยงกับเขตวัฒนธรรมพิเศษ
สำรวจชุดตรวจโควิด-19 ของไทย
ฮัมดากับสิทธิทางการศึกษา
ตลาดค้าสัตว์ป่าออนไลน์ Forest to Facebook
หมูไทย 360 องศา
ทิศทางการศึกษาหลังโควิด-19
เปิดชีวิตแรงงานบนแพลตฟอร์ม
สิ่งแปลกปลอม บนชายหาด ?
Long COVID ชีวิตเรื้อรัง
สถานการณ์การค้าชายแดนภาคเหนือ
ลัวะ...ชาติเชื้อไทย
เหมาะสมหรือไม่ ? สร้างอ่างเก็บน้ำในป่ามรดกโลก
กว่าจะเป็น "โรคประจำถิ่น"
จาก "Climate Change" สู่เกษตรยั่งยืน
วิกฤต...เด็กเกิดน้อย ?
3 ทศวรรษเขื่อนปากมูล กระบวนการเยียวยาเพิ่งเริ่มต้น
ซับจำปา - ป่าจำปี และน้ำชั้นตื้น
กฎหมายทำลายธรรมชาติ ?
บัญชีม้า ถูกหลอก หรือฟอกเงิน ?
เอาป่าแลกอ่างเก็บน้ำ ?
สถานการณ์ตลาดผลไม้ไทยในต่างประเทศ
กรุงเทพฯ ที่ปรารถนา
กัญชากัญชง...เสรี หรือกีดกัน ?
ปีแห่งการแก้หนี้ครัวเรือน ?
ภัยไส้กรอก...จะตรวจสอบหลังเกิดเหตุ ?
ชะตากรรมของกะเหรี่ยงชายขอบ
นวัตกรรมคนปลอดภัย
ป่าชายเลน…เครื่องมือฟอกเขียวธุรกิจ หรือคาร์บอนเครดิตเพื่อชุมชน ?
Big Story เรื่องใหญ่ Thai PBS
"โอมิครอน" ดับฝันเปิดประเทศ ?
สถานการณ์ปลาน้ำจืดเสี่ยงสูญพันธุ์
ชุมชนกะเหรี่ยงกับเขตวัฒนธรรมพิเศษ
สำรวจชุดตรวจโควิด-19 ของไทย
ฮัมดากับสิทธิทางการศึกษา
ตลาดค้าสัตว์ป่าออนไลน์ Forest to Facebook
หมูไทย 360 องศา
ทิศทางการศึกษาหลังโควิด-19
เปิดชีวิตแรงงานบนแพลตฟอร์ม
สิ่งแปลกปลอม บนชายหาด ?
Long COVID ชีวิตเรื้อรัง
สถานการณ์การค้าชายแดนภาคเหนือ
ลัวะ...ชาติเชื้อไทย
เหมาะสมหรือไม่ ? สร้างอ่างเก็บน้ำในป่ามรดกโลก
กว่าจะเป็น "โรคประจำถิ่น"
จาก "Climate Change" สู่เกษตรยั่งยืน
วิกฤต...เด็กเกิดน้อย ?
3 ทศวรรษเขื่อนปากมูล กระบวนการเยียวยาเพิ่งเริ่มต้น
ซับจำปา - ป่าจำปี และน้ำชั้นตื้น
กฎหมายทำลายธรรมชาติ ?
บัญชีม้า ถูกหลอก หรือฟอกเงิน ?
เอาป่าแลกอ่างเก็บน้ำ ?
สถานการณ์ตลาดผลไม้ไทยในต่างประเทศ
กรุงเทพฯ ที่ปรารถนา
กัญชากัญชง...เสรี หรือกีดกัน ?
ปีแห่งการแก้หนี้ครัวเรือน ?
ภัยไส้กรอก...จะตรวจสอบหลังเกิดเหตุ ?
ชะตากรรมของกะเหรี่ยงชายขอบ
นวัตกรรมคนปลอดภัย
ป่าชายเลน…เครื่องมือฟอกเขียวธุรกิจ หรือคาร์บอนเครดิตเพื่อชุมชน ?