นักข่าวพลเมือง C-site ชวนปักหมุดติดตามประเด็นเรื่อง “ที่อยู่อาศัย” หนึ่งในปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต เพราะ “บ้าน” มีความจำเป็น แต่ปัจจุบันการจะได้มีบ้านสักหลังนั้นไม่ง่าย ชีวิตบนความไม่มั่นคงจึงเกิดขึ้นกับทั้งคนเมือง คนต่างจังหวัด และกลุ่มคนเปราะบางในเมือง ซึ่งที่อยู่อาศัยเป็นวาระสำคัญระดับโลก ที่องค์การสหประชาติกำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคมของทุกปี เป็น “วันที่อยู่อาศัยโลก” และปีนี้ตรงกับวันที่ 5 ตุลาคม มีคำขวัญว่า “Housing for All : A Better Urban Future” คือ “ทุกคนมีที่อยู่อาศัย เมืองจึงจะมีอนาคตที่ดี”
พร้อมพูดคุยกับเครือข่ายภาคประชาสังคม ที่ติดตามเรื่องที่อยู่อาศัยในเมื่องมาอย่างต่อเนื่อง กับคุณคมสันติ์ จันทร์อ่อน เลขาเครือข่ายสลัม 4 ภาค และคุณสมพร หารพรม เจ้าหน้าที่มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย
ติดตามได้ในรายการนักข่าวพลเมือง C-Site วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2563 เวลา 13.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน
นักข่าวพลเมือง C-Site
ทางเลือกจะนะกับการพัฒนา
แรงสะเทือนจากบอมเบย์เบอร์มา สู่ส่วนร่วมจัดการเมืองเก่า
การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ต่อโครงการอุตสาหกรรมจะนะ
ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงในชีวิตและเมล็ดพันธุ์
ท่องเที่ยวไทย หลังคลายล็อก
NexStep หลัง 240 วันสำรวจสิทธิที่ดิน
ห้องเรียนทักษะชีวิต สู้โควิด-19
มุมมองครูหลังคลายล็อก : บทบาทการสอนแห่งอนาคต
สัปดาห์แห่งความหลากหลายทางชาติพันธุ์
เตรียมรับมือภัยพิบัติ
การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่
เมืองฉบับออกแบบได้
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงาน
ห้องเรียนประชาธิปไตย
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุง
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออก
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชน
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้อง
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเล
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควัน
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19
Next step จะนะ ?
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้ง
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูน