บ้านเมืองรอบทะเลสาบสงขลา ตั้งอยู่ในพื้นที่อุดมสมบูรณ์ และอยู่บนเส้นทางการค้าทางทะเลระยะไกล เหมาะสำหรับเป็นจุดพักสินค้าและเมื่องท่าค้าขาย ทำให้มีพ่อค้านานาชาติเดินทางเข้ามา โดยเฉพาะพ่อค้าชาวจีน ที่สามารถพบหลักฐานจำนวนมากจากโดยเฉพาะสินค้าในยุคราชวงศ์ซ่งใต้ ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ 22 จีนก็เกิดการเปลี่ยนจากราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ชิง ส่งผลให้มีคลื่นชาวจีนทางภาคใต้เดินทางมายังภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงสยามและรอบทะเลสาบสงขลามากขึ้น
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เมืองซิงกอราที่หัวเขาแดงประกาศแข็งเมืองต่ออำนาจกรุงศรีอยุธยา จึงถูกส่งกองทัพลงมาปราบ ผลจากสงครามทำให้ชาวบ้านจำนวนหนึ่ง อพยพไปตั้งถิ่นฐานอยู่ร่วมกับชุมชนเก่าที่ “บ้านแหลมสน” และทำให้อำนาจของสุลต่านมุสลิมหมดบทบาทลง โดยมีคนกลุ่มใหม่ขึ้นมามีบทบาทแทนนั่นก็คือ “พ่อค้าชาวจีน” โดยเฉพาะ “จีนเหยียง แซ่เฮา" ต้นตระกูล ณ สงขลา ได้รับความไว้วางพระทัยจากพระเจ้ากรุงธนบุรี ให้ดํารงเป็นเจ้าเมืองปกครองเมืองสงขลาฝั่งแหลมสน ทําให้ชาวจีนลุ่มทะเลสาบสงขลา ได้รับโอกาสที่จะแสดงบทบาททางการเมืองและเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีการย้ายเมืองข้ามฟากทะเลสาบมาที่ “ฝั่งบ่อยาง”
ทำให้ปัจจุบันเมืองเก่าสงขลา ไม่เราว่าจะเดินไปทางไหน เราก็จะเห็นความเป็นจีนอยู่แทบจะทุกที่ จนมีคนกล่าวว่า “สงขลาเป็นเมืองของคนจีน”
ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอนรอยจีนในเมืองเก่าสงขลา วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย