พื้นที่รอบทะเลสาบสงขลาและคาบสมุทรภาคใต้ของประเทศไทยเป็นเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทรมาตั้งแต่ สมัยโบราณ มีร่องรอยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับการค้นพบกระจายตัวอยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ โดยที่ทะเลสาบสงขลานั้นนอกจากจะเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญแล้วยังเป็นแหล่งผลิตสินค้าที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่รวมกับองค์ความรู้ที่ได้มาจากพ่อค้าและนักเดินทางชาติต่าง ๆ
สินค้าสำคัญในพื้นที่ทะเลสงขลามีด้วยกันหลายอย่าง เช่น ของป่า เขาสัตว์ หนังสัตว์ หรือแร่ธาตุ ดีบุก เหล็ก แต่หนึ่งในสินค้าที่เป็นที่ต้องการมากที่สุดโดยเฉพาะจากจีนก็คือรังนกที่บริเวณหมู่เกาะสี่-เกาะห้า จังหวัดพัทลุง รังนกที่นี่ได้รับการยกย่องว่าดีที่สุดและเป็นต้นทุนสำคัญในการก่อร่างสร้างเมืองสงขลาขึ้นมา
นอกจากรังนกแล้วที่บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลายังมีดินที่มีลักษณะเฉพาะเหมาะแก่การทำเครื่องปั้นดินเผาและ กระเบื้อง โดยเครื่องปั้นดินเผาที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่ก็คือเครื่องปั้นดินเผาสทิงหม้อที่มีรูปแบบเฉพาะตัวคือการ ใช้ไม้ในการตีเครื่องปั้นเพื่อทำให้เกิดลวดลายต่าง ๆ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว นอกจากเครื่องปั้นดินเผาสทิง หม้อแล้วดินที่นี่ยังนำมาใช้ทำกระเบื้องเกาะยอ เกาะเบื้องที่มีความแข็งแกร่งและได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก มีการส่งออกไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ เช่น วังวรดิศ และที่มาเลเซีย
ติดตามได้ ในรายการติดตามในรายการจากรากสู่เรา ตอน เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา วันเสาร์ที่ 20 เมษายน 2567 เวลา 14.05 - 14.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย
จากรากสู่เรา
ตำนานพระนางเลือดขาว
โคกเมืองวัดเขียนบางแก้วและเมืองสทิงพระ : บ้านเมืองในพุทธศตวรรษที่ 18
ซิงกอรา เมืองสงขลาในสมัยอยุธยา
เมืองพัทลุง บนเส้นทางประวัติศาสตร์
เมืองเก่าสงขลา จากหัวเขาแดงสู่แหลมสนและบ่อยาง
รอยจีนในเมืองเก่าสงขลา
มุสลิมเมืองสงขลา อัตลักษณ์และชาติพันธุ์สัมพันธ์
พุทธศาสนาในลุ่มทะเลสาบสงขลา
เศรษฐกิจแบบโบราณรอบทะเลสาบสงขลา
หลวงปู่ทวด วีรบุรุษทางวัฒนธรรมแห่งเมืองใต้
หาดใหญ่ : ความรุ่งเรืองจากอดีตสู่ปัจจุบัน
จะนะ-เทพา เมืองพรมแดน พุทธ-มุสลิม
เสน่ห์สงขลาสู่เมืองมรดกโลก
วังปลายเนิน
วังแพร่งนรา ยุคทองของละครร้อง เสียงแห่งพระนคร
วังเพชรบูรณ์
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แลนด์มาร์กเมืองใหม่สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายเลิศ เศรษฐบุตร กับเส้นทางพ่อค้ายุคสยามใหม่
บางกอกน้อย : ความทรงจำที่ไม่เคยสูญหาย
พล นิกร กิมหงวน ในยุคเปลี่ยนผ่านจากสยามเป็นไทย
สามเกลอไปรบ ความรู้สึกของสังคมบนร่องรอยของสงคราม
ป.อินทรปาลิต นักเขียนที่ 100 ปี มีคนเดียว
วังวรดิศ
สวนสุนันทา : พื้นที่ 100 ปีแห่งการศึกษาดนตรีและนาฎกรรม
ย่านสุขุมวิท จากทุ่งนาสู่ทำเลทอง
ย่านคลองสาน-เจริญนคร พัฒนาการบนพื้นที่ประวัติศาสตร์
สวนสนุก : พื้นที่แสนสุขแห่งความทรงจำ
นนทบุรีศรีมหาสมุทร จากเมืองหน้าด่าน สู่เมืองอุทยาน และสวนทุเรียน
บางบัวทอง จากป่าสู่นา จากนาสู่เมือง
เกาะเกร็ด จากเมืองปากด่าน สู่ชุมชนท่องเที่ยวกลางเจ้าพระยา
มีนบุรี เมืองปลา นาข้าวและรถไฟฟ้า
พระพิราพ
ตอนพิเศษ : ศิลปกรรมไทยบนพื้นที่ ผู้คน และวัฒนธรรมอันหลากหลาย