Soft Power คือหนึ่งในนโยบายยกระดับเศรษฐกิจของรัฐบาล ซึ่งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ Soft power ยังเป็นส่วนสำคัญในการสร้างโอกาสของท้องถิ่น แม้ว่าขณะนี้ยังไม่มีความชัดเจนถึงการดำเนินการจากฝั่งนโยบาย แต่หลายพื้นที่โดยเฉพาะภาคอีสานไม่เคยหยุดนิ่ง กำหนดจัดงานงานปลาร้าหมอลำ ระหว่างวันที่ 26-29 ธันวาคม 2567 ชวนติดตามการพาอีสานทะยานสู่สากลผ่านมิติอาหารและหมอลำของชาวขอนแก่น
และชวนติดตามความเคลื่อนไหวของภาคพลเมืองกับ C-Stie อย่างสถานการณ์น้ำท่วมใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งปีนี้ถือว่ารุนแรงและสร้างความเสียหายเป็นวงกว้าง ภาคประชาชนจึงนับเป็นกำลังสำคัญที่ร่วมบรรเทาความเดือดร้อนในระยะเร่งด่วน โดยเฉพาะการจัดการเรื่องอาหารและครัวกลางของชุมชน จากนั้นชวนไปเรียนรู้วิถีเกษตรดั้งเดิมในฤดูเก็บเกี่ยวของชาวไทยเชื้ิอสายเขมร ที่รวมกลุ่มกันสืบสานประเพณีลงแขกเกี่ยวข้าว หรือเรียกว่า "อาสรัย จโรดเซรา" กับคุณสุพัฒน์ อาร์ตบ้านบ้าน และมุมมองการทำเกษตรร่วมสมัยกับ คุณขวัญชิต โพธิ์กระสังข์ สื่อชุมชนคนชายแดนไทย - กัมพูชา
ชวนติดตามวิถีการทำ “ปลาร้า” อาหาร และเครื่องปรุงรสของชาวอีสาน ซึ่งเป็นความมั่นคงทางอาหารที่สร้างรายได้ในหลายชุมชน อย่างที่บ้านหนองล่าม อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ที่นี่เป็นวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับรองมาตรฐานจาก อย. ส่งปลาร้าขายทั้งในและต่างประเทศ และชวนฟังมุมมองของคนรุ่นใหม่กับกีฬามวยไทย ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบาย 5F Soft Power ต่อด้วยความม่วนซื่นกับคอนเสิร์ตหมอลำของคณะศิลป์อีสาน ซึ่งเป็นการทดลองลงมือทำกันจริง ๆ หลักจากเรียนรู้ในห้องเรียนของคนรุ่นใหม่ นิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากนั้น ชวนขยายแนวทางการพาอีสานทะยานสู่สากลผ่านมิติอาหารและหมอลำ กับความหวังในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ท้องถิ่นมากขึ้น กับเชฟคำนาง ณัฏฐภรณ์ คมจิต ผู้ประกอบการเฮือนคำนาง และคุณสุชาติ อินทร์พรหม หนึ่งในผู้ก่อตั้งหมอลำคณะ 'อีสานนครศิลป์'
ติดตามได้ในรายการคุณเล่าเราขยาย ตอน อีสานสู่สากล Isan to the world วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม 2567 เวลา 17.30 น. ทางไทยพีบีเอส รับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.
คุณเล่า เราขยาย
โจทย์การระบาดปลาหมอคางดำ เราจะจัดการแบบครบวงจรได้อย่างไร?
อนาคตเศรษฐกิจเมืองไม้สัก
ก้าวต่อไปของมูโนะ
ปัตตานีวินเทจ ยังครีเอทได้อีก
จัดการน้ำ จัดการทุ่ง "รับมือน้ำท่วม" ฉบับพื้นที่ช้ำน้ำบางบาล อยุธยา
ห้องเรียนชีวิต ชุมชน สายน้ำโขง
การจัดการสถานการณ์ "ภัยพิบัติ"
ถอดภารกิจการจัดการภัยพิบัติเชียงราย
"เมล็ดพันธุ์" ฟื้นความหวังหลังน้ำท่วม
"น้ำเหนือ น้ำฝน น้ำหนุน" คนพื้นที่ทุ่งรับน้ำรับมืออย่างไร?
ฟื้นฟูเชียงรายจากนี้ต่อ
อนาคตคนตะวันออก บนความท้าทาย EEC
โรงเรียนริมราง ชุมชน (เพื่อ) มิตรภาพ
50 ปี สหพันธ์ชาวนาชาวไร่แห่งประเทศไทย
แกะรอยพะยูน มองอนาคตทะเลอันดามัน
ความหวัง ความฝัน คนบางคล้า พื้นที่ไข่ขาว EEC
อีสานสู่สากล Isan to the world
เมืองมรดกโลกที่มีชีวิต
ภัยธรรมชาติเปลี่ยน เราจะเตรียมรับมือกันอย่างไร
พลังพลเมืองจับตาวิกฤตโลกเดือด
ข้าว(โฉม)ใหม่ ปลามัน
"สุขภาพจิตที่ดี" ของขวัญถึงเด็กทุกคน
มาตรา 69 ชี้ชะตาทะเลไทย
ถอดรหัสเลือกตั้ง อบจ. #บ้านฉันเอาแบบนี้
โจทย์ภัยพิบัติฝุ่นพิษ PM 2.5 กับการจัดการระดับท้องถิ่น - ชาติ
เรียนรู้ ตั้งรับ ปรับตัว วิทยาศาสตร์พลเมือง
'Next Step’ ปกป้องชายหาดด้วยวิทยาศาสตร์พลเมือง
ฝ่าทางตัน "รัฐธรรมนูญ 60" สู่ "รัฐธรรมนูญประชาชน"
โจทย์ที่อยู่อาศัยบนที่ดินรถไฟ
ห้องเรียนวิทยาศาสตร์บ้านฉัน จากการเรียนรู้สู่การเฝ้าระวัง
ดอนตาแพ้ว ขุมทรัพย์กลางทะเลระนอง
เลิกจ้างแรงงานยานภัณฑ์ หลักประกันของคนทำงานอยู่ตรงไหน ?
ปิดเทอม เปิดการเรียนรู้
"คลองชายธง" กับงานอนุรักษ์ในพื้นที่สาธารณะ
เสียงของแรงงานความหวังการเยียวยาใต้ซากตึก สตง.