คนสู้โรค
คนสู้โรค

ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค

หน้ารายการ
29 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค

รังสีเพื่อการรักษาโรค เป็นวิธีการรักษาเนื้องอกทั้งชนิดมะเร็ง และไม่ใช่มะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงานสูงซึ่งสามารถทำลายสารพันธุกรรมในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั้งทางตรงและทางอ้อม สามารถแบ่งประเภทของการใช้รังสีออกเป็น 2 ประเภทคือ

1.รังสีระยะไกล ลำแสงจากภายนอกจะทะลุผ่านผิวหนังไปยังก้อนมะเร็งและพื้นที่รอบ ๆ เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง โดยทั่วไปจะฉายรังสี 5 วันต่อสัปดาห์ เพื่อให้รังสีเข้าไปทำลายเซลล์มะเร็งได้อย่างสม่ำเสมอ และเว้นระยะเวลาให้เซลล์เนื้อเยื่อปกติได้มีเวลาซ่อมแซมตัวเอง เพื่อลดผลข้างเคียงจากการฉายรังสี

2.รังสีระยะใกล้ หรือการฝังแร่ คือ การใส่สารกัมมันตรังสีเข้าไปภายในตัวผู้ป่วย ซึ่งต้นกำเนิดรังสีจะอยู่ใกล้กับบริเวณที่จะทำการรักษาผู้ป่วยบางรายอาจกลัวว่าการฉายรังสีจะทำให้เกิดมะเร็งชนิดอื่นตามมาหลังการรักษา แต่ในความเป็นจริงแล้วความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งตามหลังการรักษาด้วยรังสีนั้นน้อยมากเมื่อเทียบกับประโยชน์ของการรักษาเพื่อให้หายขาดจากโรคมะเร็งซึ่งมีประโยชน์และสำคัญมากกว่า เพราะฉะนั้นแล้วต้องหมั่นพบแพทย์และรับคำแนะนำจากแพทย์เพื่อเตรียมความพร้อมในการรักษาได้อย่างถูกต้องและเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงขึ้น ติดตามความรู้จาก พญ.น้ำฝน ทวีอัสนี ผู้ช่วยคณบดีด้านบริหาร คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

  • ปรับก่อนป่วย : ผู้ป่วยโรคไตกับการรักษาด้วยแพทย์แผนจีน

ยาจีนทำให้ไตแย่ลงจริงหรือ ? คำตอบคือ ไม่ หากปรึกษาแพทย์แผนจีนที่มีใบประกอบวิชาชีพ ซึ่งแพทย์จีนจะวินิจฉัยโรคตามหลักการ คือ ซักประวัติ แมะชีพจร(การจับชีพจร) ดูลิ้น โดยศาสตร์การแพทย์แผนจีนสามารถใช้ในการป้องกัน ส่งเสริม และการรักษาผู้ป่วยโรคไตได้ ด้วยวิธีผสมผสานหัตถการต่าง ๆ รวมถึงการใช้ยาจีน นอกจากจะกินยาตามแพทย์สั่งแล้ว ก็ควรกินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย และใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ติดตามความรู้จาก ดร. พจ.เยาวเกียรติ เยาวพันธุ์กุล แพทย์แผนจีน

  • CHECK-UP สุขภาพ : วิธีเลือกยาสีฟัน แปรงสีฟัน

สุขภาพช่องปากที่ดีเริ่มต้นด้วยการแปรงฟัน เพราะฉะนั้นแล้วเราควรเช็กกันว่าเราจะเลือกแปรงสีฟันและยาสีฟันแบบไหน ฟลูออไรด์ควรใช้เท่าไหร่ถึงเหมาะกับช่วงอายุเรา พร้อมวิธีการดูแลรักษาสุขภาพฟันให้ถูกสุขลักษณะเพื่อป้องกันไม่ทำให้เกิดฟันผุรวมถึงโรคเหงือกตามมา ติดตามความรู้จาก ทพ.เมธาพันธ์ ชานนท์พงษ์พานิช ทันตแพทย์


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันอังคารที่ 29 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค

29 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค

รังสีเพื่อการรักษาโรค เป็นวิธีการรักษาเนื้องอกทั้งชนิดมะเร็ง และไม่ใช่มะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงานสูงซึ่งสามารถทำลายสารพันธุกรรมในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั้งทางตรงและทางอ้อม สามารถแบ่งประเภทของการใช้รังสีออกเป็น 2 ประเภทคือ

1.รังสีระยะไกล ลำแสงจากภายนอกจะทะลุผ่านผิวหนังไปยังก้อนมะเร็งและพื้นที่รอบ ๆ เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง โดยทั่วไปจะฉายรังสี 5 วันต่อสัปดาห์ เพื่อให้รังสีเข้าไปทำลายเซลล์มะเร็งได้อย่างสม่ำเสมอ และเว้นระยะเวลาให้เซลล์เนื้อเยื่อปกติได้มีเวลาซ่อมแซมตัวเอง เพื่อลดผลข้างเคียงจากการฉายรังสี

2.รังสีระยะใกล้ หรือการฝังแร่ คือ การใส่สารกัมมันตรังสีเข้าไปภายในตัวผู้ป่วย ซึ่งต้นกำเนิดรังสีจะอยู่ใกล้กับบริเวณที่จะทำการรักษาผู้ป่วยบางรายอาจกลัวว่าการฉายรังสีจะทำให้เกิดมะเร็งชนิดอื่นตามมาหลังการรักษา แต่ในความเป็นจริงแล้วความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งตามหลังการรักษาด้วยรังสีนั้นน้อยมากเมื่อเทียบกับประโยชน์ของการรักษาเพื่อให้หายขาดจากโรคมะเร็งซึ่งมีประโยชน์และสำคัญมากกว่า เพราะฉะนั้นแล้วต้องหมั่นพบแพทย์และรับคำแนะนำจากแพทย์เพื่อเตรียมความพร้อมในการรักษาได้อย่างถูกต้องและเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงขึ้น ติดตามความรู้จาก พญ.น้ำฝน ทวีอัสนี ผู้ช่วยคณบดีด้านบริหาร คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์สุขภาพ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

  • ปรับก่อนป่วย : ผู้ป่วยโรคไตกับการรักษาด้วยแพทย์แผนจีน

ยาจีนทำให้ไตแย่ลงจริงหรือ ? คำตอบคือ ไม่ หากปรึกษาแพทย์แผนจีนที่มีใบประกอบวิชาชีพ ซึ่งแพทย์จีนจะวินิจฉัยโรคตามหลักการ คือ ซักประวัติ แมะชีพจร(การจับชีพจร) ดูลิ้น โดยศาสตร์การแพทย์แผนจีนสามารถใช้ในการป้องกัน ส่งเสริม และการรักษาผู้ป่วยโรคไตได้ ด้วยวิธีผสมผสานหัตถการต่าง ๆ รวมถึงการใช้ยาจีน นอกจากจะกินยาตามแพทย์สั่งแล้ว ก็ควรกินอาหารที่มีประโยชน์ ออกกำลังกาย และใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ติดตามความรู้จาก ดร. พจ.เยาวเกียรติ เยาวพันธุ์กุล แพทย์แผนจีน

  • CHECK-UP สุขภาพ : วิธีเลือกยาสีฟัน แปรงสีฟัน

สุขภาพช่องปากที่ดีเริ่มต้นด้วยการแปรงฟัน เพราะฉะนั้นแล้วเราควรเช็กกันว่าเราจะเลือกแปรงสีฟันและยาสีฟันแบบไหน ฟลูออไรด์ควรใช้เท่าไหร่ถึงเหมาะกับช่วงอายุเรา พร้อมวิธีการดูแลรักษาสุขภาพฟันให้ถูกสุขลักษณะเพื่อป้องกันไม่ทำให้เกิดฟันผุรวมถึงโรคเหงือกตามมา ติดตามความรู้จาก ทพ.เมธาพันธ์ ชานนท์พงษ์พานิช ทันตแพทย์


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันอังคารที่ 29 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - ล่าสุด
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
18 ก.ค. 66
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - ล่าสุด
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
18 ก.ค. 66
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย