"นักข่าวพลเมือง" ไม่ใช่เพียงช่องทางการสื่อสารของประชาชนเท่านั้น แต่เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนใช้สิทธิการสื่อสารตามระบอบประชาธิปไตย
หากประชาชนมีทักษะการสื่อสาร ก็จะสามารถแสดงความคิดเห็น สะท้อนปัญหา หรือนำเสนอเรื่องที่น่าสนใจในพื้นที่ต่างๆได้ โดยไม่ต้องรอ "สื่อกระแสหลัก" เพียงอย่างเดียว
ซึ่งไทยพีบีเอสมีนโยบายพัฒนาทักษะการสื่อสารให้กับภาคประชาชน โดยได้จับร่วมมือกับสถานศึกษา,ภาคประชาสังคมและสื่อท้องถิ่น มาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กัน เพื่อสร้าง "นักสื่อสาร" ให้เพิ่มมากขึ้น ผ่านแบบฝึกหัดแรกคือการเป็น "นักข่าวพลเมือง" เพื่อให้นักสื่อสารเหล่านี้กลายเป็นกำลังสำคัญ เมื่อประเทศไทยจะเกิด "ทีวีชุมชน" ขึ้นในอนาคต เพราะประชาชนจะต้องเป็นผู้บริหารจัดการโทรทัศน์ช่องนี้ และต้องเป็นผู้ผลิตเนื้อหาบนหน้าจอ
"สถานศึกษา" ถือเป็นหน่วยงานแรกๆที่ไทยพีบีเอสชวนมาร่วมกันพัฒนาทักษะการสื่อสารให้กับภาคประชาชน เริ่มจากการการให้นิสิต นักศึกษา ได้เรียนรู้การเป็น "นักข่าวพลเมือง" ซึ่งที่ผ่านมาก็มีรายงานหลายเรื่องที่น้องๆได้นำเสนอเรื่องราวที่น่าสนใจให้คุณผู้ชมได้ติดตาม
วันนี้เปิดบ้านไทยพีบีเอสจึงพาคุณผู้ชมเดินทางไปที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อไปติดตามกันว่าสถาบันการศึกษาได้ดำเนินงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ เพื่อช่วยกันสร้าง "นักสื่อสารภาคประชาชน" อย่างไร
ติดตามชมรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส วันจันทร์ที่ 28 มีนาคม 2559 เวลา 17.00-17.05 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เปิดบ้าน Thai PBS
เบื้องหลังสารคดี Spirit Of Asia ชุด เมื่อคนไทต้องเปลี่ยน
แนวทางการนำเสนอข่าวสารผ่าน Facebook Live
การนำเสนอข่าวรณรงค์ไม่ซื้อสินค้าทางศาสนา
ประสบการณ์จากนักศึกษาฝึกงานกับการทำข่าวในแบบสื่อสาธารณะ
ความคิดเห็นของผู้ชมต่อการนำเสนอข่าวค่ำในช่วงข่าวกีฬา
ต่อยอดการอ่าน จากรายการ “ท้าให้อ่าน”
มุมมองการนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับเกม
เปิดมุมมองการเดินทางแบบ Along Way Home
การตรวจสอบการนำเสนอข่าวของไทยพีบีเอส
แนวคิดการนำเสนอ Infographic รู้สู้ภัยแล้ง
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 1
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 2
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 3
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 4
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 5
นักข่าวพลเมืองกับการสื่อสารเพื่อพัฒนาชุมชน
การให้บริการภาคประชาชนของห้องสมุดสื่อสาธารณะไทยพีบีเอส
มุมมองการนำเสนอเรื่องภัยแล้งในพื้นที่ภาคอีสาน
ผลประเมินการดำเนินงาน ส.ส.ท. ปี 2558 โดยผู้ประเมินภายนอก
เวทีเสวนาฝ่าวิกฤตภัยแล้ง
ที่มาการสร้างภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การต่อยอดประโยชน์ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การศึกษาผลกระทบการยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ประโยชน์การยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง
ความคืบหน้าการจัดสรรคลื่นความถี่ทีวีดิจิทัลบริการชุมชน
หนังพาไป กับการสื่อสารเพื่อการรณรงค์
มุมมองต่อการส่งเสริมความรู้วิทยาศาสตร์ผ่านหนังสั้น
ไทยพีบีเอสให้บริการคำบรรยายแทนเสียง ในระบบ Closed Captions
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับรายการ Itchy Feet ภาษาอังกฤษติดเที่ยว
เปิดบ้าน Thai PBS
เบื้องหลังสารคดี Spirit Of Asia ชุด เมื่อคนไทต้องเปลี่ยน
แนวทางการนำเสนอข่าวสารผ่าน Facebook Live
การนำเสนอข่าวรณรงค์ไม่ซื้อสินค้าทางศาสนา
ประสบการณ์จากนักศึกษาฝึกงานกับการทำข่าวในแบบสื่อสาธารณะ
ความคิดเห็นของผู้ชมต่อการนำเสนอข่าวค่ำในช่วงข่าวกีฬา
ต่อยอดการอ่าน จากรายการ “ท้าให้อ่าน”
มุมมองการนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับเกม
เปิดมุมมองการเดินทางแบบ Along Way Home
การตรวจสอบการนำเสนอข่าวของไทยพีบีเอส
แนวคิดการนำเสนอ Infographic รู้สู้ภัยแล้ง
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 1
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 2
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 3
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 4
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 5
นักข่าวพลเมืองกับการสื่อสารเพื่อพัฒนาชุมชน
การให้บริการภาคประชาชนของห้องสมุดสื่อสาธารณะไทยพีบีเอส
มุมมองการนำเสนอเรื่องภัยแล้งในพื้นที่ภาคอีสาน
ผลประเมินการดำเนินงาน ส.ส.ท. ปี 2558 โดยผู้ประเมินภายนอก
เวทีเสวนาฝ่าวิกฤตภัยแล้ง
ที่มาการสร้างภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การต่อยอดประโยชน์ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การศึกษาผลกระทบการยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ประโยชน์การยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง
ความคืบหน้าการจัดสรรคลื่นความถี่ทีวีดิจิทัลบริการชุมชน
หนังพาไป กับการสื่อสารเพื่อการรณรงค์
มุมมองต่อการส่งเสริมความรู้วิทยาศาสตร์ผ่านหนังสั้น
ไทยพีบีเอสให้บริการคำบรรยายแทนเสียง ในระบบ Closed Captions
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับรายการ Itchy Feet ภาษาอังกฤษติดเที่ยว