ในที่ประชุม "รัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 21" ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส นายกรัฐมนตรี ได้แถลงจุดยืนของประเทศไทยที่จะช่วยลดโลกร้อน โดยตั้งเป้าไว้ว่าภายในปี พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20 – 25 จากนโยบายดังกล่าวจึงถือเป็นประเด็นสาธารณะที่ทุกภาคส่วนของประเทศไทยต้องร่วมกันรับผิดชอบ เพื่อควบคุมอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นไปมากกว่าทุกวันนี้ โดยตัวแทนจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเคยกล่าวไว้ว่า "ภาคการผลิตพลังงานไฟฟ้าถือเป็นภาคส่วนที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด
ดังนั้นไทยพีบีเอส ที่อยู่ใน "อุตสาหกรรมสื่อ" จึงมีแนวทางการประหยัดพลังงานไฟฟ้าด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งแนวทางที่ช่วยลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าได้มากที่สุด คือการยุติการออกอากาศในระบบ Analogไปสู่ระบบ Digital
ในวันนี้เปิดบ้านไทยพีบีเอสจะพาคุณผู้ชมไปรับฟังประโยชน์ของทีวีระบบ Digital ที่ส่งผลดีต่อภาพรวมของประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะประโยชน์ที่ช่วยลดโลกร้อน กับคุณธนกร สุกใสวิศวกรจากไทยพีบีเอส
ติดตามชมรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส วันศุกร์ที่ 15 เมษายน 2559 เวลา 17.00-17.05 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live
เปิดบ้าน Thai PBS
เบื้องหลังสารคดี Spirit Of Asia ชุด เมื่อคนไทต้องเปลี่ยน
แนวทางการนำเสนอข่าวสารผ่าน Facebook Live
การนำเสนอข่าวรณรงค์ไม่ซื้อสินค้าทางศาสนา
ประสบการณ์จากนักศึกษาฝึกงานกับการทำข่าวในแบบสื่อสาธารณะ
ความคิดเห็นของผู้ชมต่อการนำเสนอข่าวค่ำในช่วงข่าวกีฬา
ต่อยอดการอ่าน จากรายการ “ท้าให้อ่าน”
มุมมองการนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับเกม
เปิดมุมมองการเดินทางแบบ Along Way Home
การตรวจสอบการนำเสนอข่าวของไทยพีบีเอส
แนวคิดการนำเสนอ Infographic รู้สู้ภัยแล้ง
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 1
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 2
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 3
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 4
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 5
นักข่าวพลเมืองกับการสื่อสารเพื่อพัฒนาชุมชน
การให้บริการภาคประชาชนของห้องสมุดสื่อสาธารณะไทยพีบีเอส
มุมมองการนำเสนอเรื่องภัยแล้งในพื้นที่ภาคอีสาน
ผลประเมินการดำเนินงาน ส.ส.ท. ปี 2558 โดยผู้ประเมินภายนอก
เวทีเสวนาฝ่าวิกฤตภัยแล้ง
ที่มาการสร้างภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การต่อยอดประโยชน์ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การศึกษาผลกระทบการยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ประโยชน์การยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง
ความคืบหน้าการจัดสรรคลื่นความถี่ทีวีดิจิทัลบริการชุมชน
หนังพาไป กับการสื่อสารเพื่อการรณรงค์
มุมมองต่อการส่งเสริมความรู้วิทยาศาสตร์ผ่านหนังสั้น
ไทยพีบีเอสให้บริการคำบรรยายแทนเสียง ในระบบ Closed Captions
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับรายการ Itchy Feet ภาษาอังกฤษติดเที่ยว
เปิดบ้าน Thai PBS
เบื้องหลังสารคดี Spirit Of Asia ชุด เมื่อคนไทต้องเปลี่ยน
แนวทางการนำเสนอข่าวสารผ่าน Facebook Live
การนำเสนอข่าวรณรงค์ไม่ซื้อสินค้าทางศาสนา
ประสบการณ์จากนักศึกษาฝึกงานกับการทำข่าวในแบบสื่อสาธารณะ
ความคิดเห็นของผู้ชมต่อการนำเสนอข่าวค่ำในช่วงข่าวกีฬา
ต่อยอดการอ่าน จากรายการ “ท้าให้อ่าน”
มุมมองการนำเสนอประเด็นเกี่ยวกับเกม
เปิดมุมมองการเดินทางแบบ Along Way Home
การตรวจสอบการนำเสนอข่าวของไทยพีบีเอส
แนวคิดการนำเสนอ Infographic รู้สู้ภัยแล้ง
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 1
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 2
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 3
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 4
ความร่วมมือพัฒนานักสื่อสารภาคประชาชน ตอน 5
นักข่าวพลเมืองกับการสื่อสารเพื่อพัฒนาชุมชน
การให้บริการภาคประชาชนของห้องสมุดสื่อสาธารณะไทยพีบีเอส
มุมมองการนำเสนอเรื่องภัยแล้งในพื้นที่ภาคอีสาน
ผลประเมินการดำเนินงาน ส.ส.ท. ปี 2558 โดยผู้ประเมินภายนอก
เวทีเสวนาฝ่าวิกฤตภัยแล้ง
ที่มาการสร้างภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การต่อยอดประโยชน์ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง 3 เดซิเบล เสียงที่ไม่ได้ยิน
การศึกษาผลกระทบการยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ประโยชน์การยุติโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก
ความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่รายงานสถานการณ์ภัยแล้ง
ความคืบหน้าการจัดสรรคลื่นความถี่ทีวีดิจิทัลบริการชุมชน
หนังพาไป กับการสื่อสารเพื่อการรณรงค์
มุมมองต่อการส่งเสริมความรู้วิทยาศาสตร์ผ่านหนังสั้น
ไทยพีบีเอสให้บริการคำบรรยายแทนเสียง ในระบบ Closed Captions
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษกับรายการ Itchy Feet ภาษาอังกฤษติดเที่ยว