ถ้าเราอยากจะโน้มน้าวใจใครสักคนในโลกออนไลน์ให้คล้อยตามเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไม่จำเป็นต้องใช้ความคิดเห็นจากคนหมู่มาก เพราะใช้ความคิดเห็นของคนเพียงแค่ร้อยละ 20 "อัลกอริทึม" ของโซเชียลมีเดียก็ทำให้คนที่ยังไม่ตัดสินใจเชื่อข้อมูลด้านใดด้านหนึ่งปักใจเชื่อได้ทันทีว่า "คนส่วนใหญ่คิดแบบเดียวกัน" โดยที่ไม่รู้เลยว่าคนที่เหลืออีกร้อยละ 80 คิดเห็นอย่างไร หรือคิดแตกต่างกันหรือไม่ นี่เป็นผลงานวิจัยเรื่องภาพลวงตาของคนหมู่มากในสังคมออนไลน์ จากสถาบันวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัย Southern California ประเทศสหรัฐอเมริกา นักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้ค้นพบว่า ภาพลวงตาของคนหมู่มาก เกิดจากการทำงานของ "อัลกอริทึม" ซึ่งทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Filter Bubble หรือแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ตัวกรองฟองสบู่" ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นจากพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ของเรา เพราะโซเชียลมีเดียจะจดจำได้ว่าเราชอบอะไร และจะคอยคัดกรองแต่เนื้อหาที่เราชอบมาแสดงผล ดู ๆ ไปแล้วโซเชียลมีเดียก็เหมือนจะรู้ใจเรา แต่นี่กลับกลายเป็นกับดักคล้ายฟองสบู่บาง ๆ ที่บังตาเราเอาไว้ เพราะการที่เราเห็นแต่สิ่งที่เราชอบ จะทำให้เราโลกทัศน์ของเราแคบลงอย่างไม่น่าเชื่อ
ติดตามชมรายการเปิดบ้านไทยพีบีเอส ย้อนหลังได้ทาง www.thaipbs.or.th/OpenThaiPBS
เปิดบ้าน Thai PBS
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันสื่อ : รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันสื่อ : กลลวงพนันออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
รู้เท่าทันสื่อ : การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
รู้เท่าทันสื่อ : วงจรข้อมูลลวง COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
รู้เท่าทันสื่อ : โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้เท่าทันสื่อ : รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันสื่อ : ภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันสื่อ : การออกแบบ News Feed
รู้เท่าทันสื่อ : โฆษณาแฝงในรายการข่าว
รู้เท่าทันสื่อ : ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
รู้เท่าทันสื่อ : การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เล่นโซเชียลนาน เสี่ยงภาวะเหนื่อยล้าการตัดสินใจ
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
เสียงจากคนไทยพลัดถิ่น
เปิดบ้าน Thai PBS
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมไม่ควรเปิดเผยชื่อผู้ป่วย COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เลือกใช้คำอย่างไร ไม่ให้เกิดความตื่นตระหนก
รู้เท่าทันสื่อ : รู้เท่าทันภัย Phishing
รู้เท่าทันสื่อ : กลลวงพนันออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราถึงเชื่อ "ข่าวลือ"
รู้เท่าทันสื่อ : การตีตราทางสังคมคืออะไร ?
รู้เท่าทันสื่อ : วงจรข้อมูลลวง COVID-19
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อข่าวผสมเรื่องไสยศาสตร์
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราชอบอวดบนโลกโซเชียล
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อ YouTuber พูดคำหยาบ ส่งผลอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อประชาชนเขย่าแหล่งรายได้สื่อ เพื่อเรียกร้องจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อเกมออนไลน์แฝงการพนัน
รู้เท่าทันสื่อ : โปรโมชันสินค้าออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : พฤติกรรม Sharenting การแชร์รูปลูกลงโซเชียลมีเดีย
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อขยายประเด็นอาจล้ำเส้นจริยธรรม
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสมาร์ตโฟนเป็นประตูล้วงข้อมูลส่วนตัว
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราเปิดใจใช้แอปพลิเคชันหาคู่
รู้เท่าทันสื่อ : รู้ทันปรากฏการณ์ Filter Bubble
รู้เท่าทันสื่อ : ภาวะสะเทือนใจรุนแรงจากการเสพสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ : ทำไมเราประจานกันบนโลกออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อ : การโพสต์เรียกร้องความสนใจ
รู้เท่าทันสื่อ : การออกแบบ News Feed
รู้เท่าทันสื่อ : โฆษณาแฝงในรายการข่าว
รู้เท่าทันสื่อ : ข่าวการเมืองกับภาวะเครียด
รู้เท่าทันสื่อ : การเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ สำคัญอย่างไร
รู้เท่าทันสื่อ : เล่นโซเชียลนาน เสี่ยงภาวะเหนื่อยล้าการตัดสินใจ
รู้เท่าทันสื่อ : เมื่อสื่อละเมิดสิทธิ์
เสียงจากคนไทยพลัดถิ่น