เคยตั้งคำถามกันหรือไม่ว่า ทำไมเด็กไทยต้องเรียนพิเศษ? ทำไมการเรียนการสอนแค่ในห้องเรียนจึงไม่เพียงพอสำหรับเด็กนักเรียน? สาเหตุที่แท้จริงของระบบการศึกษาอยู่ที่ตรงไหน? แล้วเราในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งจะสามารถทำอะไรเพื่อเปลี่ยนแปลงปัญหาทางการศึกษานี้ได้บ้าง
หรือความจริงแล้วหนึ่งในอุปสรรคที่สำคัญของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยจะอยู่ที่กระบวนการถ่ายทอดวิชาความรู้ที่สื่อสารออกมาได้ไม่ตรงกับความต้องการของตัวนักเรียนเอง รวมทั้งห้องเรียนเช่นไรที่จะทำให้นักเรียนรู้สึกสนุก อยากเรียน และมีความกระตือรือร้นในการเรียน สามัญชนคนไทยจะพาไปดูห้องเรียนที่เปี่ยมไปด้วยความกระหายรู้พร้อมทั้งใบหน้าเปื้อนยิ้มของน้อง ๆ นักเรียนอย่างที่เราอยากจะเห็นกัน
ติดตามชมรายการสามัญชนคนไทย ชุด Hero การศึกษา ครูไทย(ไม่)ธรรมดา ตอน ห้องเรียนห้องเล่น วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2561 เวลา 22.00 - 22.55 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
แท็กที่เกี่ยวข้อง:
สามัญชนคนไทย
พลังศรัทธา
อาชีพแม่
พลิกชีวิต เปลี่ยนความคิด
เกษตรกรหัวใจอาสา
นักอนุรักษ์แห่งท่ามะไฟหวาน
สู้เพื่อสิทธิ...ที่หายไป
ปลัดหญิง ผู้พลิกชุมชน
กองกำลังรักษาความมั่นคงทางอาหาร
ครูพวกเราชื่อแว่นดำ
พลังใจไม่พิการ
ครูสร้างคน
เด็กต่งห่อแห่งภูเก็ต
ไร่ส้มศึกษา...โรงเรียนนานา(สัญ)ชาติบนดอย
ห้องเรียนชีวิต
วิชาเสือโคร่งศึกษา
ท้องก็เรียนได้ ?
พวกเราคือเด็ก (L) ดี
พอ เพียร ก็เพียงพอ
เรียนตามวัย
บนเส้นทางการพัฒนาประเทศ
เพื่อนเรียนรู้แบบครูสอญอ
ห้องเรียนห้องเล่น
อโรคยา ปรมาลาภา
คนไทยกินอะไร
แก่ไปใครจะเลี้ยง
รวยกระจุก จนกระจาย
สิทธิของคนไทย
ความสุขของสามัญชน
กว่าเด็กไทยจะได้กินข้าว
เกษตรกรกับวงเวียนหนี้ ที่ไม่มีวันหมด
สามัญชนคนไทย
พลังศรัทธา
อาชีพแม่
พลิกชีวิต เปลี่ยนความคิด
เกษตรกรหัวใจอาสา
นักอนุรักษ์แห่งท่ามะไฟหวาน
สู้เพื่อสิทธิ...ที่หายไป
ปลัดหญิง ผู้พลิกชุมชน
กองกำลังรักษาความมั่นคงทางอาหาร
ครูพวกเราชื่อแว่นดำ
พลังใจไม่พิการ
ครูสร้างคน
เด็กต่งห่อแห่งภูเก็ต
ไร่ส้มศึกษา...โรงเรียนนานา(สัญ)ชาติบนดอย
ห้องเรียนชีวิต
วิชาเสือโคร่งศึกษา
ท้องก็เรียนได้ ?
พวกเราคือเด็ก (L) ดี
พอ เพียร ก็เพียงพอ
เรียนตามวัย
บนเส้นทางการพัฒนาประเทศ
เพื่อนเรียนรู้แบบครูสอญอ
ห้องเรียนห้องเล่น
อโรคยา ปรมาลาภา
คนไทยกินอะไร
แก่ไปใครจะเลี้ยง
รวยกระจุก จนกระจาย
สิทธิของคนไทย
ความสุขของสามัญชน
กว่าเด็กไทยจะได้กินข้าว
เกษตรกรกับวงเวียนหนี้ ที่ไม่มีวันหมด