“ปะนาเระ” คนในพื้นที่ชายแดนใต้ต่างคุ้นกันดีว่าเป็นพื้นที่ขึ้นชื่อเรื่องอาหารทะเลสด ปลอดภัย และราคาสูงกว่าที่อื่น เพราะจับมาแล้วขายเลย
แต่หากย้อนไปในอดีต พื้นที่นี้ก็ประสบปัญหาปริมาณทรัพยากรสัตว์น้ำลดลง สาเหตุเพราะการเข้ามาของอวนรุนและอวนลากรวมถึงเกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าไปรับจ้างทำงานในประเทศมาเลเซีย ขณะเดียวกัน พื้นที่ชายแดนใต้ จ.ปัตตานี ครองอันดับ 1 ใน 10 จังหวัดประชากรรายได้น้อย ต่อเนื่องกว่า 18 ปี
มาวันนี้พื้นที่ปานาเระ เปลี่ยนไป มีการรวมกลุ่มของชาวบ้านที่เข้มแข็ง เกิดเป็นชมรมประมงพื้นบ้าน อ.ปะนาเระ ที่ชาวประมงพื้นบ้านพยายามปรับวิถีการทำประมงให้สอดรับกับธรรมชาติ ทำเรื่้องการฟื้นฟู อนุรักษ์ทรัพยากรเเบบมีส่วนร่วม และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทะเลแปรรูปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญของการกระตุ้นเศรษฐกิจ ที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เเละการท่องเที่ยวเชิงอาหาร
ที่สำคัญต้นทุนทางทรัพยากรที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีความได้เปรียบในด้านภูมิศาสตร์จะสามารถพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่า สร้างโอกาสและขยายฐานเศรษฐกิจที่เอื้อต่อผู้คนทุกระดับ และสามารถแก้โจทย์เศรษฐกิจปากท้องในพื้นที่ชายแดนใต้ได้มากน้อยเเค่ไหน รวมถึงชาวประมงพื้นบ้านสามารถปรับตัวรับมือกับปรากฏการณ์เอลนีโญที่คาดว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างไร
และนี่คือโจทย์ที่รายการฟังเสียงประเทศไทย ออกเดินทางไปรับฟังความคิดเห็นของพี่น้องชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ ปะนาเระ จ.ปัตตานี และชวนมองโอกาสความเป็นไปได้จาก3 ฉากทัศน์
ชวนอ่านรายละเอียดและร่วมโหวตภาพฉากทัศน์อนาคตประเทศไทย คลิกที่นี่ https://thecitizen.plus/84757
ทุกท่านสามารถช่วยกันมอง และแลกเปลี่ยนเพื่อร่วมกันจัดการต้นทุนทางทรัพยากรชายแดนใต้ ในรายการฟังเสียงประเทศไทย ตอน ฟังเสียงปะนาเระ โอกาสเศรษฐกิจชายแดนใต้ วันเสาร์ที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
ฟังเสียงประเทศไทย
อนาคต อาชีพหมอ จุดเจ็บปวดระบบสาธารณสุขไทย
ตรังอนาคตเศรษฐกิจ เมืองของคนช่างกิน
มุกดาหาร อัญมณีลุ่มน้ำโขง
ปลายทาง ที่ปาย
เสียง สื่อ ชุมชน ในยุคความท้าทายใหม่
เอลนีโญ เกษตรกลางวิกฤต
เมืองชัยภูมิกับคนต้นน้ำชี
ฟังเสียงปะนาเระ โอกาสเศรษฐกิจชายแดนใต้
ภูมิปัญญาคนสูงวัยเมืองแพร่ ส่งต่ออย่างไร
ศรีสะเกษ เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์
เศรษฐกิจชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
เมืองมรดกโลกอยุธยากับรถไฟความเร็วสูง
อนาคต ‘โฉนดชุมชนคลองโยง’ กับโครงการพัฒนา
เลาะปรีย์ทม ส่องป่าชุมชนเมืองสุรินทร์
อนาคตป่าสาคูกับโอกาสทางเศรษฐกิจ จ.พัทลุง
อนาคตท่องเที่ยวลำพูน "บ่ใช่เมืองรอง"
เศรษฐกิจเมืองแพร่เพื่อรองรับคนรุ่นใหม่
ปัญหาน้ำมันรั่วกับอนาคตทะเลตะวันออก ภายใต้เงา EEC
โคราชเมืองใหญ่กับทิศทางไปต่อ
ภาวะทุพโภชนาการกับอนาคตการเติบโตของเด็ก จ.ปัตตานี
อนาคตแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
พลังอีสานสร้างสรรค์
อนาคต “คน เมือง ลิง” ลพบุรี
ออนซอน หนองบัวลำภู
ภัยคุกคาม “ปลาหมอคางดำ”
มหัศจรรย์ถ้ำกระบี่กับอนาคตทางเศรษฐกิจ
ท่องเที่ยวป่าชุมชนโอกาสใหม่จาก พ.ร.บ.ปี 62
ฟังเสียงชายแดนใต้กับอนาคตรับมือภัยพิบัติ
ภาวะโลกร้อนกับอนาคตเกษตรกร จ.พัทลุง
คลองห้วยยาง กับอนาคตการฟื้นเมืองทับเที่ยง
ฟังเสียงประเทศไทย
อนาคต อาชีพหมอ จุดเจ็บปวดระบบสาธารณสุขไทย
ตรังอนาคตเศรษฐกิจ เมืองของคนช่างกิน
มุกดาหาร อัญมณีลุ่มน้ำโขง
ปลายทาง ที่ปาย
เสียง สื่อ ชุมชน ในยุคความท้าทายใหม่
เอลนีโญ เกษตรกลางวิกฤต
เมืองชัยภูมิกับคนต้นน้ำชี
ฟังเสียงปะนาเระ โอกาสเศรษฐกิจชายแดนใต้
ภูมิปัญญาคนสูงวัยเมืองแพร่ ส่งต่ออย่างไร
ศรีสะเกษ เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์
เศรษฐกิจชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัย
เมืองมรดกโลกอยุธยากับรถไฟความเร็วสูง
อนาคต ‘โฉนดชุมชนคลองโยง’ กับโครงการพัฒนา
เลาะปรีย์ทม ส่องป่าชุมชนเมืองสุรินทร์
อนาคตป่าสาคูกับโอกาสทางเศรษฐกิจ จ.พัทลุง
อนาคตท่องเที่ยวลำพูน "บ่ใช่เมืองรอง"
เศรษฐกิจเมืองแพร่เพื่อรองรับคนรุ่นใหม่
ปัญหาน้ำมันรั่วกับอนาคตทะเลตะวันออก ภายใต้เงา EEC
โคราชเมืองใหญ่กับทิศทางไปต่อ
ภาวะทุพโภชนาการกับอนาคตการเติบโตของเด็ก จ.ปัตตานี
อนาคตแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
พลังอีสานสร้างสรรค์
อนาคต “คน เมือง ลิง” ลพบุรี
ออนซอน หนองบัวลำภู
ภัยคุกคาม “ปลาหมอคางดำ”
มหัศจรรย์ถ้ำกระบี่กับอนาคตทางเศรษฐกิจ
ท่องเที่ยวป่าชุมชนโอกาสใหม่จาก พ.ร.บ.ปี 62
ฟังเสียงชายแดนใต้กับอนาคตรับมือภัยพิบัติ
ภาวะโลกร้อนกับอนาคตเกษตรกร จ.พัทลุง
คลองห้วยยาง กับอนาคตการฟื้นเมืองทับเที่ยง