
Thai PBS Verify Talk: #ฟีดนี้ไม่มีข่าวลวง ระดม 13 ผู้เชี่ยวชาญต่อต้านข่าวปลอม ยกระดับสังคม รู้เท่าทันสื่อ และ AI
จบลงไปแล้วกับเวที “Thai PBS Verify Talk: #ฟีดนี้ไม่มีข่าวลวง” เวทีที่ระดม 13 ผู้เชี่ยวชาญต่อต้านข่าวปลอม ตีแผ่สังคมยุค AI สงครามข้อมูล ข่าวลวงหลอก Deepfake ภัยเงียบจาก AI ที่ต้องแยกแยะ และเสริมทักษะเท่าทัน ชี้ “Thai PBS” สื่อที่น่าเชื่อถือ ปกป้อง/ตรวจสอบความจริง ฟื้นฟูความไว้วางใจ ตอกย้ำ Thai PBS Verify เครื่องมือตรวจสอบข่าวลวง ยกระดับสังคม เท่าทันสื่อ - AI ไม่ตกเป็นเหยื่อ
30 มิ.ย. 68

เบื้องหลังคลิปฮิตไวรัล พ.ค.-มิ.ย. แท้จริง ‘สร้างด้วย AI’ สังเกตเบื้องต้นได้ที่นี่
ในช่วงเดือน พ.ค.-มิ.ย. 68 Thai PBS Verify พบการปลอมคลิปทั้ง AI Gen และ AI Deepfake ถูกเผยแพร่จำนวนมากในโซเชียลมีเดีย ซึ่งแต่ละคลิปเหล่านั้นมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ทั้งการหลอกขายสินค้า ไปจนถึงการสร้างความเข้าใจผิดทางการเมือง เราจะมีวิธีตรวจสอบเบื้องต้นได้อย่างไร ติดตามได้ที่นี่
21 มิ.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว: ภาพนายกฯ อินเดีย กราบขอพรหลังปากีสถานโต้กลับ แท้จริงเป็นภาพเก่าขณะสวดมนต์ก่อนหาเสียง สส.
ข่าวปลอม ภาพเก่า “นายกฯ อินเดีย” ถูกอ้างทำพิธีขอพร เพราะผลจากการตอบโต้ที่รุนแรงจากปากีสถาน แท้จริงคือภาพสวดมนต์ก่อนเลือกตั้ง สส.
27 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว : “มิจฉาชีพ” ใช้ AI Deepfake ปลอมข่าว “สรยุทธ” พิธีกรชื่อดัง โฆษณายาลดเบาหวาน
Thai PBS Verify พบคลิปจากเฟซบุ๊ก ใช้ภาพของพิธีกรชื่อดัง "สรยุทธ" ลงคลิปใช้เทคโนโลยี AI Deepfake ปลอมเสียงพร้อมขยับหน้าตา อ้างอดีตอาจารย์วิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตบหน้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เพราะขัดขวางไม่ให้ใช้ยารักษาโรคเบาหวาน เตือนอย่าหลงเชื่อ
27 พ.ค. 68

ตรวจสอบพบ: “มิจฉาชีพ” ปลอมข่าว “Thai PBS” อ้าง “ชาคริต” ถูกจับ
Thai PBS Verify พบคลิปจาก TikTok แอบอ้างใช้ภาพโลโก้ "Thai PBS" ลงคลิปอ้าง "ชาคริต แย้มนาม" นักแสดงจากซิตคอม "เป็นต่อ" ถูกจับพร้อมภรรยาในคดีฟอกเงิน เตือนอย่าหลงเชื่อ
22 พ.ค. 68

ตรวจสอบแล้ว คลิปโผล่อ้างแผ่นดินไหวเชียงใหม่ทำตึกถล่ม
ตรวจสอบพบคลิป TikTok ปลอม อ้างตึกถล่มในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 21 เม.ย. 68 ที่ผ่านมา จากเหตุแผ่นดินไหว ตรวจสอบพบเป็นเพียงคลิปเก่า ขณะที่คนไม่ทราบหลงแชร์ข่าวนับร้อย
22 เม.ย. 68

ตรวจสอบแล้ว : ภาพผู้ประท้วงชาวตุรกีสวมชุดปิกาจูเป็นภาพที่สร้างจาก AI
สื่อหลายสำนักได้เผยแพร่ภาพที่แสดงผู้ประท้วงในชุดปิกาจูขณะวิ่งหนีตำรวจพร้อมคำกล่าวอ้างว่าเป็นภาพถ่ายจากการชุมนุมต่อต้านประธานาธิบดีเรเจป ทายยิป แอร์โดอัน ของประเทศตุรกี อย่างไรก็ตาม นี่เป็นภาพที่ถูกสร้างขึ้นด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI)
18 เม.ย. 68

ภาพหมู่บ้านสุดสวยในโปแลนด์ แท้จริงสร้างจาก AI
ภาพของหมู่บ้านที่สร้างล้อมถนนสายหลักเป็นภาพที่สร้างโดยปัญญาประดิษฐ์ ไม่ใช่ภาพถ่ายในโปแลนด์ตามคำกล่าวอ้างเท็จในสื่อสังคมออนไลน์ การค้นหาด้วยกูเกิลพบว่าภาพดังกล่าวถูกสร้างขึ้นด้วยเครื่องมือเอไอของกูเกิล นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญกล่าวกับ AFP ว่าพบองค์ประกอบภาพที่ผิดปกติหลายจุด และนายกเทศมนตรีของหมู่บ้านที่ถูกอ้างชื่อในโพสต์ก็ยืนยันกับสื่อโปแลนด์ด้วยว่านี่ไม่ใช่ภาพจริง
10 เม.ย. 68

2 เมษายน “วันตรวจสอบข่าวลวงโลก”
วันตรวจสอบข่าวลวงโลก หรือ วันตรวจสอบข้อเท็จจริงสากล ซึ่งตรงกับวันที่ 2 เมษายนของทุกปี ถือเป็นอีกหนึ่งวันที่มีความสำคัญ โดยเฉพาะกับยุคที่ใครก็สามารถเป็นผู้ผลิตข้อมูลข่าวสารได้แค่ปลายนิ้ว
2 เม.ย. 68