คนสู้โรค
คนสู้โรค

การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ

หน้ารายการ
25 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ

บริการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) เป็นบริการสุขภาพวิถีใหม่ที่มาหนุนเสริมระบบสุขภาพหลัก โดยให้บริการรักษาพยาบาลในระดับบริการปฐมภูมิ นอกจากเพิ่มการเข้าถึงบริการให้กับผู้ป่วยแล้ว ยังเพิ่มความสะดวก ช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยร่วมมือกับผู้ให้บริการแอปพลิเคชันด้านสุขภาพดิจิทัล จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ 1.แอปพลิเคชัน Good Doctor Technology (กู๊ด ด็อกเตอร์) โดยจีดีทีคลินิกเวชกรรม 2.แอปพลิเคชัน Clicknic (คลิกนิก) โดยคลิกนิกเฮลท์คลินิกเวชกรรม 3.แอปพลิเคชัน Mordee (หมอดี) โดยชีวีบริรักษ์ คลินิกเวชกรรม และ 4.แอปพลิเคชัน Saluber MD (ซาลูเบอร์ เอ็ม ดี) โดยสุขสบายคลินิกเวชกรรม เพื่อเป็นการดูแลประชาชนผู้มีสิทธิบัตรทอง 30 บาท เบื้องต้นกำหนดนำร่องบริการให้ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยเป็นโรคทั่วไป 42 กลุ่มโรคพร้อมมีระบบพิสูจน์ตัวตนยืนยันการใช้สิทธิผู้ป่วยก่อนรับบริการ มีแพทย์ที่พร้อมให้บริการและมีระยะเวลาของการให้บริการประมาณ 10 -15 นาทีต่อครั้ง หรือจนกว่าแพทย์จะสามารถวินิจฉัยและสั่งการรักษาได้ ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการบริการสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับประชาชน ที่ช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ติดตามความรู้จาก ทพ.อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสปสช.

  • ปรับก่อนป่วย : ผักโมโรเฮยะ ราชาแห่งวิตามิน

ผักโมโรเฮยะ ได้ชื่อว่า เป็นผักของพระราชา ตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ เนื่องจากเป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามิน เกลือแร่ เส้นใยรวมอยู่มากโดยเฉพาะ วิตามินเอ เบต้าแคโรทีน แคลเซียม วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และเป็นผักที่มีเส้นใยอาหารรวมอยู่มาก ชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคผักโมโรเฮยะกันอย่างแพร่หลาย แถมมีวิตามินมากกว่าบรอกโคลี ผักโขม และแครอท มากกว่า 3 เท่า ช่วยเสริมการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค และมีสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ทั้งนี้ไฟเบอร์ในโมโรเฮยะยังช่วยลดคอเลสเตอรอล ช่วยลดเบาหวาน ลดความดัน แก้อาการท้องผูก และป้องกันโรคมะเร็ง โดยผักโมโรเฮยะสามารถนำมาแปรรูปเป็นอาหารเสริมสุขภาพได้ เช่น ซุปผัก หรือนำผักมาบดเป็นผง เพื่อเป็นวัตถุดิบปรุงแต่งในอาหาร เช่น บะหมี่ผักโมโรเฮยะ คุกกี้ ขนมปัง ฯลฯ เป็นพืชที่ปลูกง่าย เติบโตเร็ว ทนทานต่อภาวะอากาศร้อนแล้งได้เป็นอย่างดี ถือเป็นผักที่เป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่รักสุภาพ กินเป็นสมุนไพร และต้องการบรรเทา หรือป้องกันอาการจากโรคต่าง ๆ ถึงแม้จะได้ชื่อเรียกว่าเป็นผักพระราชา แต่สามัญชนคนธรรมดาอย่างเรา ๆ ก็สามารถหากินได้ เป็นพืชที่มีประโยชน์ไม่ต้องใช้สารเคมีก็ปลูกได้เอง ดีต่อสุขภาพ และสามารถประกอบอาหารในครัวเรือนได้ ทำเมนูสุขภาพให้คนในครอบครัวกินได้ ติดตามความรู้จาก วิทยา เพชรมาลัยกุล และอรพรรณ เพชรมาลัยกุล เจ้าของสวน


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ

25 ส.ค. 66
  • รู้สู้โรค : การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ

บริการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) เป็นบริการสุขภาพวิถีใหม่ที่มาหนุนเสริมระบบสุขภาพหลัก โดยให้บริการรักษาพยาบาลในระดับบริการปฐมภูมิ นอกจากเพิ่มการเข้าถึงบริการให้กับผู้ป่วยแล้ว ยังเพิ่มความสะดวก ช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยร่วมมือกับผู้ให้บริการแอปพลิเคชันด้านสุขภาพดิจิทัล จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ 1.แอปพลิเคชัน Good Doctor Technology (กู๊ด ด็อกเตอร์) โดยจีดีทีคลินิกเวชกรรม 2.แอปพลิเคชัน Clicknic (คลิกนิก) โดยคลิกนิกเฮลท์คลินิกเวชกรรม 3.แอปพลิเคชัน Mordee (หมอดี) โดยชีวีบริรักษ์ คลินิกเวชกรรม และ 4.แอปพลิเคชัน Saluber MD (ซาลูเบอร์ เอ็ม ดี) โดยสุขสบายคลินิกเวชกรรม เพื่อเป็นการดูแลประชาชนผู้มีสิทธิบัตรทอง 30 บาท เบื้องต้นกำหนดนำร่องบริการให้ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยเป็นโรคทั่วไป 42 กลุ่มโรคพร้อมมีระบบพิสูจน์ตัวตนยืนยันการใช้สิทธิผู้ป่วยก่อนรับบริการ มีแพทย์ที่พร้อมให้บริการและมีระยะเวลาของการให้บริการประมาณ 10 -15 นาทีต่อครั้ง หรือจนกว่าแพทย์จะสามารถวินิจฉัยและสั่งการรักษาได้ ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการบริการสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับประชาชน ที่ช่วยประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ติดตามความรู้จาก ทพ.อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสปสช.

  • ปรับก่อนป่วย : ผักโมโรเฮยะ ราชาแห่งวิตามิน

ผักโมโรเฮยะ ได้ชื่อว่า เป็นผักของพระราชา ตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ เนื่องจากเป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามิน เกลือแร่ เส้นใยรวมอยู่มากโดยเฉพาะ วิตามินเอ เบต้าแคโรทีน แคลเซียม วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และเป็นผักที่มีเส้นใยอาหารรวมอยู่มาก ชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคผักโมโรเฮยะกันอย่างแพร่หลาย แถมมีวิตามินมากกว่าบรอกโคลี ผักโขม และแครอท มากกว่า 3 เท่า ช่วยเสริมการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค และมีสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ทั้งนี้ไฟเบอร์ในโมโรเฮยะยังช่วยลดคอเลสเตอรอล ช่วยลดเบาหวาน ลดความดัน แก้อาการท้องผูก และป้องกันโรคมะเร็ง โดยผักโมโรเฮยะสามารถนำมาแปรรูปเป็นอาหารเสริมสุขภาพได้ เช่น ซุปผัก หรือนำผักมาบดเป็นผง เพื่อเป็นวัตถุดิบปรุงแต่งในอาหาร เช่น บะหมี่ผักโมโรเฮยะ คุกกี้ ขนมปัง ฯลฯ เป็นพืชที่ปลูกง่าย เติบโตเร็ว ทนทานต่อภาวะอากาศร้อนแล้งได้เป็นอย่างดี ถือเป็นผักที่เป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่รักสุภาพ กินเป็นสมุนไพร และต้องการบรรเทา หรือป้องกันอาการจากโรคต่าง ๆ ถึงแม้จะได้ชื่อเรียกว่าเป็นผักพระราชา แต่สามัญชนคนธรรมดาอย่างเรา ๆ ก็สามารถหากินได้ เป็นพืชที่มีประโยชน์ไม่ต้องใช้สารเคมีก็ปลูกได้เอง ดีต่อสุขภาพ และสามารถประกอบอาหารในครัวเรือนได้ ทำเมนูสุขภาพให้คนในครอบครัวกินได้ ติดตามความรู้จาก วิทยา เพชรมาลัยกุล และอรพรรณ เพชรมาลัยกุล เจ้าของสวน


ติดตามชมในรายการคนสู้โรค วันศุกร์ที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 15.05 - 15.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือ รับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/Live

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - ล่าสุด
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
18 ก.ค. 66
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66

คนสู้โรค

1 - 30
31 - 60
61 - 90
91 - 120
121 - 150
151 - 180
181 - 210
211 - 240
241 - 270
271 - 300
301 - 330
331 - 360
361 - 390
391 - 420
421 - 450
451 - 480
481 - 510
511 - 540
541 - 570
571 - 600
601 - 630
631 - 660
661 - 690
691 - 720
721 - 750
751 - 780
781 - 810
811 - 840
841 - 870
871 - 900
901 - 930
931 - 960
961 - 990
991 - 1,020
1,021 - 1,050
1,051 - 1,080
1,081 - 1,110
1,111 - 1,140
1,141 - 1,170
1,171 - 1,200
1,201 - 1,230
1,231 - 1,260
1,261 - 1,290
1,291 - 1,320
1,321 - 1,350
1,351 - 1,380
1,381 - 1,410
1,411 - 1,440
1,441 - 1,470
1,471 - 1,500
1,501 - 1,530
1,531 - 1,560
1,561 - ล่าสุด
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
ประสาทหูชั้นในเสื่อม
18 ก.ค. 66
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
การถอนฟัน เรื่องสำคัญที่ต้องรู้
20 ก.ค. 66
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
แพ้ยาสลบ และยาชา ภาวะเสี่ยงอันตรายที่คนทำศัลกรรมควรรู้
21 ก.ค. 66
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
ฤดูฝนกับปัญหาคันอวัยวะเพศของผู้หญิง
24 ก.ค. 66
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
ป้องกันกรดไหลย้อน ในผู้สูงอายุ
25 ก.ค. 66
สมุนไพรต้านมะเร็ง
สมุนไพรต้านมะเร็ง
26 ก.ค. 66
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
คนไทยเสี่ยงโดดเดี่ยว ซึมเศร้าในอีก 10 ปี
27 ก.ค. 66
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
นอนดึกตื่นสาย นอนเร็วตื่นเช้า ส่งผลต่อสุขภาพจิต
31 ก.ค. 66
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
สารในน้ำตาลเทียม เสี่ยงต่อการเป็นโรค NCDs
3 ส.ค. 66
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
การปรับขนาดยาด้วยตัวเอง ส่งผลต่อสุขภาพอย่างไร
4 ส.ค. 66
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
การคลอดด้วยวิธีธรรมชาติกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
7 ส.ค. 66
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
ดื่มน้ำกระท่อมเสี่ยงไตวาย
8 ส.ค. 66
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
สมุนไพรลดความดันโลหิตสูง
9 ส.ค. 66
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
แจกฟรีถุงยาง ยาคุมกำเนิด แก้ปัญหาท้องไม่พร้อม
10 ส.ค. 66
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
ข้อควรรู้ในการจัดฟัน
11 ส.ค. 66
การปรับยาซึมเศร้า
การปรับยาซึมเศร้า
15 ส.ค. 66
โรคมดลูกหย่อน
โรคมดลูกหย่อน
16 ส.ค. 66
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนที่มากับเบาหวาน
17 ส.ค. 66
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
กรดไหลย้อนเสี่ยงมะเร็งหลอดอาหาร
18 ส.ค. 66
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วิธีการจัดยาเหลือใช้ของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
21 ส.ค. 66
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
ขมิ้นชันล้วน ๆ กินอย่างไรแค่ไหนถึงพอดี
23 ส.ค. 66
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
ผลกระทบของการผ่าตัดคลอดต่อสุขภาพมารดาและทารกในอนาคต
24 ส.ค. 66
กำลังเล่น...
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
การแพทย์ทางไกลดูแล 42 กลุ่มโรคผ่านแอปสุขภาพ
25 ส.ค. 66
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
แยกเรื่องงานออกจากเวลาส่วนตัว ก่อนเข้านอน
28 ส.ค. 66
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
ประโยชน์ของรังสีเพื่อการรักษาโรค
29 ส.ค. 66
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
กินปุ๊บ ถ่ายปั๊บ เป็นคนลำไส้ตรงจริงหรือ
30 ส.ค. 66
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อแพ้อาหารทะเล
31 ส.ค. 66
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
เปลี่ยนจากประกันสังคมมาเป็นสิทธิบัตรทองหรือบัตร 30 บาท
1 ก.ย. 66
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
ผมร่วง ผมบาง รักษาได้อย่างไร
4 ก.ย. 66
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
รังสีเพื่อการวินิจฉัยโรค
5 ก.ย. 66

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย