การบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่าเรียนรู้ประเด็นทางสังคมร่วมกับภาคพลเมือง ปักหมุด จุดประเด็น เห็นความเชื่อมโยงภาพใหญ่ของสังคมโลกและท้องถิ่นของไทย ในเรื่องการบริหารจัดการขยะและการใช้ขยะให้คุ้มค่า ภายใต้แนวคิด "ขยะไม่มีอยู่จริง"
"เหมืองแร่" สถานการณ์ร้อนใต้กฎหมายแร่ใหม่ติดตามความเคลื่อนไหวชุมชนพื้นที่โครงการเหมืองแร่ทั่วประเทศ ภายใต้ พ.ร.บ.แร่ใหม่ แต่ปัญหายังคุกรุ่น อะไรจะเป็นทางออกสำหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเหมืองแร่ไทย
เมืองฉบับออกแบบได้เพราะ "เมือง" ไม่เคยหยุดเคลื่อนไหว และโจทย์ท้าทายใหม่ช่วงโควิด-19 คือการพัฒนาเมืองควบคู่กับเศรษฐกิจ โดยยังคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์ของผู้คน
สแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงานชวนสแกนสถานการณ์วิกฤติแรงงานไทย ความพยายามเอาตัวรอดของแรงงานด้วยการเติมทักษะใหม่ ๆ ให้ตนเอง และร่วมพูดคุยข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อเดินหน้าสู่รัฐสวัสดิการถ้วนหน้าครบวงจร
ห้องเรียนประชาธิปไตยท่ามกลางสังคมที่เต็มไปด้วยความเห็นต่าง ซึ่งโดยพื้นฐานมันไม่ใช่เรื่องผิด แต่เพื่อความเข้าใจและยอมรับซึ่งกันและกัน พื้นที่ในบ้านและโรงเรียนแบบไหนที่ควรจะเป็นสำหรับสถานการณ์นี้
ทางเลือก "โครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว" จ.พัทลุงชวนติดตามสถานการณ์ชาวบ้านจากหมู่บ้าน “เหมืองตะกั่ว” จ.พัทลุง ที่หยุดงานและจากบ้านมาไกล มุ่งหน้าเข้าสู่ กทม. เพื่อยื่นข้อเรียกร้องไม่อยากให้เดินหน้าโครงการอ่างเก็บน้ำเหมืองตะกั่ว
"ธุรกิจกำจัดขยะ" ปัญหาใต้เงาการพัฒนาภาคตะวันออกปัญหา "ธุรกิจกำจัดขยะ" ภายใต้การพัฒนาภาคตะวันออก เมื่อกิจการกำจัดกากของเสีย กลายเป็นธุรกิจที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน และนำมาสู่การละเมิดสิทธิ์ แต่กลับขยายตัวมากขึ้นตามการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
การจัดการภัยพิบัติระดับชุมชนชวนปักหมุดเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติระดับชุมชน จะมีอะไรบ้างที่เราต้องเตรียมพร้อม
คนเปราะบางกับการจัดการปากท้องชวนปักหมุด จุดประเด็น เห็นความเชื่อมโยง ถึงผลพวงจากวิกฤตโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มคนเปราะบางอย่าง "คนไร้บ้าน"
ปักหมุดสำรวจโครงสร้างแข็งจากน้ำโขงถึงทะเลสำรวจโครงสร้างแข็ง ทั้งกำแพงกันคลื่นและโครงการเขื่อนป้องกันตลิ่งพังเพื่อแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ข้อเสนอและทางออกแบบไหนที่จะช่วยแก้ปัญหาการกัดเซาะอย่างยั่งยืน
พลังสูงวัย ศักยภาพคนวัยเกษียณพบกับการดำรงชีวิตอย่างมีพลังของผู้สูงอายุ หรือคนวัยเกษียณ กับการฝ่าฟันช่วงเวลาวิกฤติโควิด-19 ที่ผ่านมา จากนั้นชวนคุยกันถึงทิศทางอนาคต และสถานการณ์สำคัญที่ต้องจับตาสำหรับการเตรียมความพร้อมของสังคมสูงวัยในภาวะวิกฤติ
คืบหน้า...คลื่นความถี่และทีวีชุมชน ?ชวนติดตามความพยายามที่จะทำให้ “ทีวีชุมชน” เกิดขึ้นในไทย ซึ่งเป็นหลักการสำคัญของสิทธิการสื่อสารและการปฏิรูปสื่อ แต่ความคืบหน้าของเรื่องนี้ไปถึงไหนแล้วบ้าง ท่ามกลางช่องทางการสื่อสารมากมายในขณะนี้
PM 2.5 มหากาพย์ฝุ่นควันชีวิตยุค New Normal สิ่งที่ต้องมีติดตัวคือหน้ากากอนามัย ป้องกันโควิด-19 และหน้ากากอีกชนิดคือหน้ากากกันฝุ่นแบบ N95 เพราะใกล้เข้ามาทุกทีในช่วงปลายปี จนถึงช่วงเดือนเมษายน ที่หลายพื้นที่จะมีค่าฝุ่น PM 2.5 สะสมในปริมาณมาก
คืนบัณฑิตสู่ชุมชน กับการทบทวนโครงการสร้างงานในวิกฤติโควิด-19ภาวะการจ้างงานกำลังประสบปัญหาจากวิกฤติโควิด-19 มีความกังวลถึงบัณฑิตจบใหม่ในปี 2564 ซึ่งอาจกลายเป็นผู้ว่างงานถาวร เพราะตลาดแรงงานไม่พอรองรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาใหม่
Next step จะนะ ?ชวนปักหมุดจุดประเด็น เห็นความเชื่อมโยงกับภาคพลเมือง มาคุยกันในเรื่องของจะนะ ประเมินความเป็นได้ และมองไปให้เห็นถึงอนาคตของเมืองจะนะ จ.สงขลา
1 ปี หลังวิกฤตน้ำโขงแห้งมาพูดคุยถึงผลกระทบข้ามพรมแดนและทางออกในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงของภาคประชาชนผ่านสภาประชาชนลุ่มน้ำโขง ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน ว่าสามารถเป็นไปได้หรือไม่
พอกิน พอเพียง กับการพัฒนาที่ยั่งยืนพบกับ 3 มุมมอง ในการดำเนินธุรกิจแบบเศรษฐกิจพอเพียง สู่หลักคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ร่วมพูดคุยกับคุณหฤษฎ์ ขาวสุทธิ์ เจ้าของแบรนด์ ภูซอมพอ และ ดร.ศิริกุล เลากัยกุล ผู้อำนวยการโครงการ พอแล้วดี มูลนิธิมั่นพัฒนา
ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญชวนพูดคุยว่าด้วยเรื่อง "ปากท้อง การชุมนุม และรัฐธรรมนูญ" กับ "เป๋า - ยิ่งชีพ อัชฌานนท์" ผู้จัดการโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw
“บ้าน” ความหวังและความมั่นคงบนความจริง“ที่อยู่อาศัย” หนึ่งในปัจจัยขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต แต่การจะมีบ้านสักหลังนั้นไม่ง่าย ชีวิตบนความไม่มั่นคงจึงเกิดขึ้นกับทั้งคนเมือง คนต่างจังหวัด และกลุ่มคนเปราะบางในเมือง
หญ้าทะเลสูญ จับตาอนาคตพะยูนสำรวจเรื่องราวของหญ้าทะเลและพะยูน หลังช่วงต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา มีปรากฏการณ์หญ้าทะเลตายในเกาะลิบง จ.ตรัง